Page 233 -
P. 233
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
229
ก็ตาม ผู้เดินทางมาท่องเที่ยว จังหวัดฉะเชิงเทราส่วนใหญ่ ปัจจัยชี้วัดศักยภาพของทรัพยากรท่องเที่ยว และแบบ
เป็นนักทัศนาจรที่เช้ามาเย็นกลับ เนื่องจากตั้งอยู่ไม่ไกล ประเมินศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
จากกรุงเทพมหานคร วัตถุประสงค์ส�าคัญของการเดินทาง โดยมีวิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปได้ดังนี้
มาจังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อต้องการมาพักผ่อน ไหว้พระ
และปฏิบัติธรรม ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ (ส�านักงาน การส�ารวจและรวบรวมทรัพยากรการท่องเที่ยว
ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2554) ดังนั้น เพื่อ ทางธรรมชาติ
เป็นการส่งเสริมให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวภายใน ด�าเนินการโดยศึกษาข้อมูล ทุติยภูมิจากเอกสาร
ประเทศอย่างต่อเนื่องตลอดปี การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยวในอ�าเภอ
ในเส้นทางของเมืองทางผ่านให้มีความน่าสนใจแก่นัก บางปะกง ร่วมกับการส�ารวจภาคสนาม และสอบถาม
ท่องเที่ยว จะช่วยสร้างความเชื่อมโยงของแหล่งท่องเที่ยว ผู้ให้ข้อมูลหลักในพื้นที่ เพื่อรวบรวมทรัพยากรการ
ในระดับท้องถิ่น สู่ระดับจังหวัดและระดับภาค ก่อให้ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีในพื้นที่ศึกษา
เกิดการขยายระยะเวลาการท่องเที่ยวให้ยาวนานยิ่งขึ้น
รวมทั้งเกิดการกระจายรายได้ให้กับประชาชนในท้องถิ่น การคัดเลือกกิจกรรมท่องเที่ยวที่โดดเด่น
ผู้วิจัยจึงเห็นถึงความส�าคัญของการส�ารวจและรวบรวม จากข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติทั้งหมด
ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มีอยู่ในพื้นที่อ�าเภอบางปะกง ที่ได้จากการส�ารวจตามข้อ 1 น�ามาคัดเลือกแหล่งท่องเที่ยว
รวมทั้งศึกษาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ เพื่อ และกิจกรรมที่โดดเด่น โดยการจัดประชุมกลุ่ม (group
ให้ผู้ที่มีหน้าที่พัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยวสามารถ discussion) ผู้ให้ข้อมูลหลักในพื้นที่ศึกษาที่ได้จากการ
จัดล�าดับความส�าคัญในการส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวได้ สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) ให้
อย่างเหมาะสมต่อไป โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย ครอบคลุมผู้แทนจากหน่วยงานด้านการท่องเที่ยว องค์กร
3 ประการ คือ 1) เพื่อส�ารวจและรวบรวมทรัพยากร ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้น�าชุมชน และผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวทางธรรมชาติในพื้นที่อ�าเภอบางปะกง ท่องเที่ยวในพื้นที่ จ�านวน 20 คน ร่วมกันแสดงความ
จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) คัดเลือกกิจกรรมการท่องเที่ยว คิดเห็นจัดล�าดับความส�าคัญของกิจกรรมและแหล่ง
ทางธรรมชาติที่โดดเด่นในพื้นที่ศึกษา และ 3) ศึกษา ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ในพื้นที่ปากแม่น�้าบางปะกง
ศักยภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ ที่โดดเด่น ด้วยวิธีการเปรียบเทียบระดับความส�าคัญ
ได้รับการคัดเลือก ในระดับกิจกรรม ของทางเลือกทีละคู่ (pairwise ranking) และเลือกแหล่ง
ท่องเที่ยวที่มีคะแนนสูงสุด อย่างน้อย 3 ล�าดับแรก เพื่อ
อุปกรณ์และวิธีการ ท�าการประเมินศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวต่อไป
เครื่องมือและอุปกรณ์หลักในการเก็บข้อมูล การศึกษาศักยภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ของการศึกษาในครั้งนี้ ประกอบด้วย เทปวัดระยะทาง ทางธรรมชาติที่ได้รับการคัดเลือกในระดับกิจกรรม
เครื่องมือวัดความขุ่นของน�้า (Turbidimeter) เครื่องบอก 1. การพัฒนาปัจจัยชี้วัดศักยภาพทรัพยากร
พิกัดด้วยดาวเทียม (Global Positioning System) กล้อง ท่องเที่ยว ประยุกต์จากแนวคิดของดรรชนี (2553) ร่วม
ถ่ายภาพ แบบบันทึกการส�ารวจทรัพยากรท่องเที่ยว กับการสอบถามความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ เพื่อประเมิน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของ ความเหมาะสมของปัจจัยชี้วัดศักยภาพทรัพยากรการ