Page 229 -
P. 229
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
225
ปริมาณลดลงจากอดีต ร้อยละ 48.6 และ 5.6 ตามล�าดับ ปริมาณปลากระบอกก็เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในขณะที่
(Table 8) จากผลการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสัตว์น�้า กุ้งเคยและหอยแครงมีปริมาณลดลง ซึ่งปริมาณที่ลดลง
จะพบว่า ปริมาณสัตว์น�้ามีความสัมพันธ์กับการพื้นที่ป่า ของสัตว์น�้าทั้งสองชนิดนี้ ไม่ได้มีความสัมพันธ์กับการ
ชายเลน ดังเช่น ปลากระบอกมีปริมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจาก เพิ่มขึ้นของพื้นที่ป่า เนื่องจากกุ้งเคยและหอยแครงโดย
ปลากระบอกเป็นสัตว์น�้าที่มีแหล่งที่อยู่อาศัยในพื้นที่ ส่วนใหญ่ เป็นสัตว์ที่ไม่ได้มีแหล่งที่อยู่อาศัยในพื้นที่ป่า
ป่าชายเลนเป็นส่วนใหญ่ เมื่อพื้นที่ป่าชายเลนเพิ่มขึ้น ชายเลน แต่จะอยู่นอกชายฝั่งเป็นส่วนใหญ่
Table 8 The change of aquatic animals goods in Khlong Khon Sub-district, Mueang District,
Samut Songkhram Province. (n=118)
Number of people Change Quantities aquatic animals.
fishing. (percent) (percent) (Kg. / year) Change
Types A.D. 1997 A.D.2012 25.4 A.D. 1997 A.D.2012 (percent)
(n=67) (n=50)
Sea mullet 26 (22.0) 20 (16.9) -23.2 6,367.20 7,011.58 +10.1
Blood clam 22 (18.6) 17 (14.4) -22.6 7,405.71 3,804.00 -48.6
Krill 19 (16.1) 13 (11.0) -31.7 8,271.58 7,804.29 -5.6
Remarks: Change in minus (–) stands for negative impact; change in plus (+) stands for positive
impact.
สรุป เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของกลุ่มตัวอย่างทั้ง
ด้านบวกและด้านลบ ด้านบวก ได้แก่ เพิ่มทางเลือก
จากผลการศึกษาเรื่องผลกระทบจากการฟื้นฟู ในการประกอบอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น ขนาดพื้นที่ป่า
ป่าชายเลนต่อการด�ารงชีวิตของราษฎรในต�าบลคลองโคน ชายเลนเพิ่มขึ้น การรวมกลุ่มทางสังคมมากขึ้น ความรู้
สามารถสรุปได้ว่า ในระยะเวลา 15 ปีที่ผ่านมา จากปี และทักษะอาชีพเพิ่มขึ้น รับข้อมูลข่าวสารเพิ่มขึ้น รูปแบบ
พ.ศ. 2540-2555 ต�าบลคลองโคนมีการเปลี่ยนแปลง การใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าชายเลนเปลี่ยนจากการ
ของทรัพยากรป่าชายเลนเรื่อยมา เนื่องจากการด�าเนิน ใช้ประโยชน์เนื้อไม้เป็นการใช้ประโยชน์ด้านบริการ
กิจกรรมการฟื้นฟูป่าชายเลนร่วมกับการท่องเที่ยวเชิง สิ่งแวดล้อม เช่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท�ากิจกรรม
นิเวศ ที่หน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้จัดท�าโครงการ CSR เป็นต้น ในทางกลับกัน ด้านลบ พบว่า ปริมาณ
ต่างๆ ขึ้นมา โดยมีราษฎรในชุมชนและราษฎรนอกพื้น ผลผลิตสัตว์น�้าบางประเภทลดน้อยลงไป เช่น กุ้งเคย
ที่อื่นๆ เช่น กลุ่มนักเรียน กลุ่มนักศึกษา กลุ่มเยาวชน และหอยแครง
นักท่องเที่ยว เป็นต้น เข้าร่วมกิจกรรมฟื้นฟูป่าชายเลน
ในช่วง 15 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540-2555 พื้นที่ป่าชายเลนใน ค�านิยม
ต�าบลคลองโคนได้รับการปลูกฟื้นฟูเพิ่มประมาณ 485ไร่
หรือมีอัตราการเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยประมาณ 32.33 ไร่ต่อปี ขอขอบพระคุณโครงการบัณฑิตศึกษา สาขา
การปลูกและฟื้นฟูป่าชายเลนในระยะเวลา การใช้ที่ดินและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
15 ปี ที่ผ่านมา ส่งผลท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง ยั่งยืน ที่ให้ทุนสนับสนุนงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา