Page 226 -
P. 226

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

              222



                       3.2 การรวมกลุ่มในสังคม จากการศึกษา  ศูนย์อนุรักษ์ป่าชายเลน ร้อยละ 38.0 กลุ่มอนุรักษ์ทรัพยากร
              ของชุลีภรณ์ (2544) พบว่า เมื่อกว่าทศวรรษที่ผ่านมา ใน  ป่าชายเลน ร้อยละ 22.5 กลุ่มสตรี ร้อยละ 21.1 กลุ่ม
              ปี พ.ศ. 2543 ประชาชนต�าบลคลองโคนมีการรวมกลุ่ม  วิสาหกิจชุมชน ร้อยละ 14.1 และกลุ่มคนรักษ์คลองโคน
              ในสังคม ร้อยละ 54.8 ซึ่งกลุ่มต่างๆทางสังคมที่ครัวเรือน  ร้อยละ 14.1 แสดงให้เห็นว่าการรวมกลุ่มทางสังคมของ
              ตัวอย่างเข้าร่วม ได้แก่ สมาชิกกลุ่มประมง ร้อยละ 47.7   ประชาชนในต�าบลคลองโคนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 9.9 โดยที่
              กลุ่มสมาชิกปลูกป่า ร้อยละ 13.4 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร   กลุ่มต่างๆ ทางสังคมที่ครัวเรือนตัวอย่างเข้าร่วมแตกต่าง
              ร้อยละ 15.4 และกลุ่มสมาชิกลูกเสือชาวบ้าน ร้อยละ   กันมาก เนื่องจากการตั้งชื่อกลุ่มต่างๆ ทางสังคมที่ไม่
              13.4 ในปี พ.ศ. 2555 ครัวเรือนตัวอย่างมีการรวมกลุ่ม  เหมือนในอดีตและกลุ่มต่างๆ ทางสังคมที่ประชาชนเข้า
              ในสังคม ร้อยละ 60.2 เพิ่มขึ้นปี จาก พ.ศ. 2543 ร้อยละ 5.4   ร่วมในปัจจุบันทั้งหมดจะเป็นกลุ่มที่ด�าเนินกิจกรรมใน
              ซึ่งกลุ่มต่างๆ ทางสังคมที่ครัวเรือนตัวอย่างเข้าร่วม ได้แก่  การฟื้นฟูป่าชายเลนและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Table 4)

              Table 4  The change of respondents’ social integration in Khlong Khon Sub-district, Mueang
                       District, Samut Songkhram Province.
                                                    Number of respondents (percent)
                                                                                        Change
               Social integration                     A.D. 2000        A.D. 2012       (percent)
                                                       (n = 272)        (n = 118)
               Do not join group                      123 (45.2)        47 (39.8)        -11.9
               Join group                             149 (54.8)        71 (60.2)        +9.9
               Groups
               1. Fishing group                        71 (47.7)            -           -100.0
               2. Village scouts group                 20 (13.4)            -           -100.0
               3. Reforestation group                  35 (23.5)            -           -100.0
               4. Agriculture women’s group            23 (15.4)            -           -100.0
               5. Mangrove conservation center             -            27 (38.0)      +Infinity
               6. Mangrove conservation group              -            16 (22.5)      +Infinity
               7. Women group                              -            15 (21.1)      +Infinity
               8. Community enterprise                     -            10 (14.1)      +Infinity
               9. Khlong Khon Conservation group           -             3 (4.2)       +Infinity
              Remarks:  1.  Social integration data of the A.D. 2000 acquired from Chuleeporn (2001)
                         2.  Respondents may answer more than one answer.
                         3.  Change in minus (–) stands for negative impact; change in plus (+) stands for
                           positive impact.
                         4.  Figures in parenthesis are %.

                       3.3 ความรู้ด้านการฟื้นฟูป่าชายเลน จาก  ความรู้ด้านการฟื้นฟูป่าชายเลน พบว่า ความรู้จากการ
              การสัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่าง พบว่า ในปี พ.ศ. 2540   ปลูกป่าชายเลนมีมากขึ้น ร้อยละ 345.0 สามารถเลือก
              กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ที่เกิดขึ้นจากการฟื้นฟูป่าชายเลน   พันธุ์ไม้ป่าชายเลนให้เหมาะสมกับพื้นที่ที่ปลูกได้ เช่น
              ร้อยละ 16.9 ในปี พ.ศ. 2555 กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ ร้อยละ   ในพื้นที่ป่าชายเลนเลือกปลูกพันธุ์ไม้สกุลโกงกาง และ
              89.0 แสดงให้เห็นว่าความรู้ด้านการฟื้นฟูป่าชายเลนของ  ในพื้นที่หาดเลนงอกใหม่เลือกปลูกพันธุ์ไม้สกุลแสม
              กลุ่มตัวอย่างมีเพิ่มขึ้น ร้อยละ 425.0 และการเปลี่ยนแปลง  เป็นต้น ความรู้จากการก�าหนดพื้นที่ปลูกป่ามีมากขึ้น
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231