Page 222 -
P. 222

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

              218



              เป็นกิจกรรมที่หน่วยงานภาครัฐและเอกชนจัดท�าโครงการ  กับผลที่ได้จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียม IKONOS
              ต่างๆ โดยมีผู้เข้ามาร่วมกิจกรรมทั้งราษฎรในชุมชน  ปี พ.ศ. 2553 ซึ่งพบว่ามีพื้นที่ชายเลนประมาณ  2,031 ไร่
              และราษฎรจากนอกพื้นที่ เช่น นักเรียน นิสิต นักศึกษา   (Figure 1) จะเห็นได้ว่า พื้นที่ป่าชายเลนมีแนวโน้มเพิ่ม

              กลุ่มเยาวชน และนักท่องเที่ยว และ 4) การติดตามดูแล  ขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในช่วงแรก (ปี พ.ศ. 2530-2543)
              รักษาหลังการปลูก โดยการปลูกซ่อมในพื้นที่ปลูกเดิม  อัตราการเพิ่มของพื้นที่ป่าชายเลนค่อนข้างสูง ขณะที่
              ที่กล้าไม้ได้ล้มตายลงไปจ�านวนมาก             ในช่วงต่อมา (ปี พ.ศ. 2543-2553) อัตราการเพิ่มค่อย ๆ
                     3. การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าชายเลน ข้อมูล  ลดลง เหตุผลอาจจะเนื่องมาจากพื้นที่หาดเลนงอกใหม่

              จากการส�ารวจพื้นที่ป่าชายเลนของกรมทรัพยากรทาง  ที่เหมาะสมส�าหรับการปลูกป่าชายเลนมีน้อย จึงหันไป
              ทะเลและชายฝั่ง ในปี พ.ศ. 2530 มีพื้นที่ป่าชายเลนเหลือ  ปลูกในพื้นที่ป่าที่มีไม้เบิกน�าจ�าพวกแสมขึ้นอยู่แล้ว ซึ่ง
              เพียง 420 ไร่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2545 พบว่า   เป็นการปลูกเสริมป่า (enrichment planting) ด้วยพันธุ์ไม้
              พื้นที่ป่าเพิ่มขึ้นเป็น 1,788 และ 1,789 ไร่ ตามล�าดับ (กรม  มีค่าจ�าพวกโกงกาง ที่ช่วยท�าให้ความหลากหลายของ

              ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2553) เมื่อน�ามาเปรียบเทียบ  ชนิดพันธุ์ไม้ในป่าชายเลนเพิ่มมากขึ้น






























              Figure 1 Map of Mangrove area changes in Khlong Khon Sub-district, Mueang District, Samut
              Figure 1  Map of Mangrove area changes in Khlong Khon Sub-district, Mueang District, Samut
                       Songkhram Province survey A.D. 2000, 2002 and 2012.
                        Songkhram Province survey A.D. 2000, 2002 and 2012.
              Note:    Adopted from Department of Marine and Coastal Resources (2010)

                Note:  Adopted from Department of Marine and Coastal Resources (2010)
                     จากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าชายเลน   0.9964) จึงสรุปได้ว่าในช่วง 15 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540-2555
               ดังแสดงใน Figure 2 สามารถประเมินได้ว่าพื้นที่ป่า  พื้นที่ป่าชายเลนในต�าบลคลองโคนได้รับการปลูกฟื้นฟู

              ชายเลน ในปี พ.ศ. 2540 มีอยู่ประมาณ 1,525 ไร่ และ  เพิ่มประมาณ 485ไร่ หรือมีอัตราการเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย
                                                   2
              เพิ่มขึ้นเป็นประมาณ 2,010 ไร่ ในปี พ.ศ. 2555 (R  =   ประมาณ 32.33 ไร่ต่อปี
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227