Page 220 -
P. 220

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

              216



              ชายฝั่งทะเล เป็นโครงการพระราชด�าริของสมเด็จพระ  พื้นผิวโลก (global positioning system: GPS) และ
              เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ เสด็จทรง  ประเมินชุมชนแบบเร่งด่วน (Rapid Rural Appraisal)
              ร่วมกิจกรรมปลูกป่าชายเลนเป็นครั้งแรกในพื้นที่ต�าบล  ตามวิธีของ Townsley (1996) โดยใช้เครื่องมือในการเก็บ

              คลองโคน และทรงเสด็จอีก 4 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2541, 2542,   ข้อมูล คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) และ
              2545 และ 2547 (ส�านักงานจังหวัดสมุทรสงคราม, 2553)   การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (structured interview)
              นับจากนั้นเป็นต้นมา พื้นที่ต�าบลคลองโคนก็ได้รับความ  ในการก�าหนดขนาดตัวอย่าง ใช้เกณฑ์ของบุญเรียง

              สนใจจากบุคคลส�าคัญของประเทศ รวมทั้ง ข้าราชชั้น  (2543) จากประชากรทั้งหมด 475 ครัวเรือน ส�ารวจ
              ผู้ใหญ่ของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง เอกอัครราชทูต  ร้อยละ 25 ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 118 ครัวเรือน
              ต่างประเทศ คณะบุคคลของหน่วยงาน และสถานศึกษา  และใช้หลักของสุบงกช (2526) ในการกระจายกลุ่ม
              ต่างๆ ภาคเอกชน สื่อมวลชนหลายสาขา และประชาชน  ตัวอย่างไปตามหมู่บ้านต่างๆ จากนั้นใช้วิธีสุ่มตัวอย่าง

              ทั่วไป ได้ไปร่วมปลูกป่าชายเลนอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน  แบบง่าย (Simple Random Sampling) ในการเลือก
              พื้นที่ต�าบลคลองโคนยังคงได้รับความนิยมมากในการ  ตัวอย่างครัวเรือนที่สัมภาษณ์ โดยมีเงื่อนไขว่า ตัวแทน
              ประกอบกิจกรรมปลูกฟื้นฟูป่าชายเลน             ครัวเรือนตัวอย่างที่สัมภาษณ์ต้องมีอายุไม่น้อยกว่า 40 ปี

                     จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความ  เพื่อให้สามารถตอบข้อมูลย้อนหลังไปในช่วงเวลา 15
              สนใจว่าการฟื้นฟูป่าชายเลนดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อ  ปีที่ผ่านมาได้
              การด�ารงชีวิตของราษฎรในต�าบลคลองโคนอย่างไร          2. ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) เก็บรวบรวม
              ผลการศึกษาครั้งนี้น่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย  ข้อมูลเบื้องต้นของพื้นที่ศึกษา ได้แก่ ที่ตั้ง สภาพพื้นที่

              ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนโดยใช้  และการกระจายตัวของชุมชน รวมถึงกิจกรรมการฟื้นฟู
              ฐานทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใช้เป็นข้อมูลส�าหรับวาง  ป่าชายเลนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยการสืบค้น และ
              แนวทางพัฒนาเพื่อยกระดับการด�ารงชีวิตของประชาชน  ประสานงานกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
              ในพื้นที่ให้ดียิ่งขึ้นต่อไป                  สถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 7 (สมุทรสงคราม)
                                                           และส�านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด

                        อุปกรณ์และวิธีการ                  สมุทรสงคราม


                     พื้นที่ศึกษาในการครั้งนี้ คือ หมู่ 3 บ้านคลองโคน   การวิเคราะห์ข้อมูล
              หมู่ 4 บ้านแพรกทะเล และหมู่ 5 บ้านคลองช่อง ในพื้นที่     1. การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (qualitative
              ต�าบลคลองโคน เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ด�าเนินกิจกรรมใน  analysis) โดยการสรุปประเด็นเนื้อหาข้อมูลทุติยภูมิที่

              การฟื้นฟูป่าชายเลนของต�าบลคลองโคน โดยมีอุปกรณ์  ได้จากเอกสารรายงานต่างๆ และข้อมูลปฐมภูมิที่ได้
              และวิธีการดังนี้                             จากการสัมภาษณ์ เพื่อน�ามาใช้ในการบรรยายผลเชิง
                                                           พรรณนา
              การเก็บรวบรวมข้อมูล                                 2. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (quantitative

                     1. ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) ใช้วิธีการสังเกต  analysis) การวิเคราะห์ข้อมูลตัวเลขที่ได้จากการสัมภาษณ์
              การณ์ตรง (direct observation) ส�ารวจพื้นที่ชุมชนและ  โดยใช้ค่าสถิติอย่างง่าย โดยใช้โปรแกรมส�าเร็จรูป
              พื้นที่ฟื้นฟูป่าชายเลน โดยใช้เครื่องบอกต�าแหน่งบน  ทางสถิติ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ เป็นต้น การค�านวณ
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225