Page 219 -
P. 219

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                               215



              use of mangrove trees as firewood to the form of environmental services such as ecotourism and
              CSR activities. On the other hand the effect of restoration program showed a negative reduction
              of aquatic animals products such as krill and blood clam.

              Keywords:  Khlong Khon Sub-district, impacts, mangrove restoration, people’s livelihoods

                                                   บทคัดย่อ


                     การศึกษาผลกระทบจากการฟื้นฟูชายเลนที่มีต่อการด�ารงชีวิตของราษฎรต�าบลคลองโคน อ�าเภอเมือง จังหวัด

              สมุทรสงคราม มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสภาวะทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน(ขณะที่ท�าการ
              ศึกษา) กับในอดีตเมื่อ 15 ปีที่แล้ว โดยวิธีสัมภาษณ์ตัวแทนครัวเรือนที่อายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป จ�านวน 118 ราย คิดเป็น
              ร้อยละ 25 ของครัวเรือนทั้งหมด ใน 3 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านคลองโคน บ้านแพรกทะเล และบ้านคลองช่อง ร่วมกับ
              การประเมินชุมชนแบบเร่งด่วน การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้น�าชุมชน และการแปลภาพถ่ายจากดาวเทียม วิเคราะห์ข้อมูล
              เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูปทางสถิติ
                     ผลการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างซึ่งส่วนใหญ่ (ร้อยละ 83.1) จบระดับประถมศึกษา ร้อยละ 53.4 ท�าอาชีพประมง
              ชายฝั่งแบบธรรมชาติ และร้อยละ 41.5 เพาะเลี้ยงสัตว์น�้า พบว่า การฟื้นฟูป่าชายเลนในช่วงกว่าทศวรรษที่ผ่านมา

              ส่งผลท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของกลุ่มตัวอย่างทั้งด้านบวกและด้านลบ ด้าน
              บวก ได้แก่ เพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น ขนาดพื้นที่ป่าชายเลนเพิ่มขึ้น การรวมกลุ่มทางสังคม
              มากขึ้น ความรู้และทักษะอาชีพเพิ่มขึ้น รับข้อมูลข่าวสารเพิ่มขึ้น รูปแบบการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าชายเลนเปลี่ยน
              จากการใช้ประโยชน์เนื้อไม้เป็นการใช้ประโยชน์ด้านบริการสิ่งแวดล้อม เช่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท�ากิจกรรม
              CSR เป็นต้น ในทางกลับกัน ด้านลบ พบว่า ปริมาณผลผลิตสัตว์น�้าบางประเภทลดน้อยลงไป เช่น กุ้งเคย และหอยแครง

              ค�าส�าคัญ:  การด�ารงชีวิตของประชาชน การฟื้นฟูป่าชายเลน ต�าบลคลองโคน ผลกระทบ



                               ค�าน�า                      เลี้ยงครอบคลุมไปทั่วในบริเวณชายฝั่งโดยเฉพาะพื้นที่

                     จังหวัดสมุทรสงครามมีทรัพยากรป่าชายเลน  ป่าชายเลนที่เคยอุดมสมบูรณ์ได้ถูกแปรสภาพไปท�านากุ้ง
                                                           เสียเป็นส่วนใหญ่ จนกระทั่งเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่
              ที่เป็นแหล่งรวมพันธุ์สัตว์ชนิดต่างๆ ทั้งสัตว์บก สัตว์ปีก  รุนแรงมากขึ้นจากสาเหตุดังกล่าวรวมทั้งกิจกรรมก่อ
              และสัตว์น�้า นับว่ามีความส�าคัญต่อการด�ารงชีพของ  มลภาวะอื่นๆ ที่อยู่บริเวณต้นน�้า เช่น โรงงานอุตสาหกรรม
              มนุษย์มากทั้งในเขตป่าชายเลนและตามแนวชายฝั่ง   และแหล่งชุมชน ท�าให้ปริมาณสัตว์น�้าลดลงเป็นอันมาก

              โดยเฉพาะกุ้ง หอย ปู ปลา ที่มีหลากหลายชนิดที่ชาวบ้าน  ส่งผลกระทบโดยตรงต่อชาวประมงพื้นบ้าน ท�าให้ราษฎร
              สามารถน�ามารับประทานและขายเป็นรายได้ตลอดทั้งปี   ในพื้นที่ตระหนักถึงความส�าคัญของทรัพยากรป่าชายเลน
              ดังนั้นชุมชนชายฝั่งจะมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีได้นั้น จะ  และรวมตัวกันเพื่อปกป้องและฟื้นฟูป่าชายเลน แต่ผลการ

              ต้องขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลนเป็น  ฟื้นฟูป่าชายเลนในระยะแรกก็ยังไม่ประสบผลส�าเร็จเท่าที่
              ส�าคัญ (สหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์, 2550) นับ  ควร จนกระทั่งใน ปี พ.ศ. 2540 ทางจังหวัดสมุทรสงคราม
              ตั้งแต่ในช่วงปี พ.ศ. 2527 ที่เริ่มมีการน�ากุ้งกุลาด�ามาเลี้ยง  ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคส่วนต่างๆ ได้จัด
              จนประสบผลส�าเร็จ มีรายได้ที่ดีมาก จึงมีการขยายพื้นที่  โครงการปลูกป่าชายเลนบนพื้นที่หาดเลนงอกตามแนว
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224