Page 232 -
P. 232

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

              228



                                                   บทคัดย่อ


                     การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อส�ารวจทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ในอ�าเภอบางปะกง
              2) คัดเลือกกิจกรรมการท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่โดดเด่น และ 3) ศึกษาศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
              ในระดับกิจกรรมที่ได้รับการคัดเลือกตามวิธีการแบบมีส่วนร่วม ท�าการส�ารวจทรัพยากรการท่องเที่ยวภาคสนาม
              ร่วมกับจัดประชุมกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักในพื้นที่ เพื่อเสนอแนะและจัดล�าดับความส�าคัญของกิจกรรมและแหล่งท่องเที่ยว

              ทางธรรมชาติที่โดดเด่นในพื้นที่ศึกษา  ได้ประยุกต์ใช้เทคนิคเดลฟายในการประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว โดย
              การสอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยว จ�านวน 22 ท่าน เพื่อพัฒนาปัจจัยชี้วัดศักยภาพทรัพยากร
              ท่องเที่ยวที่เหมาะสม 29-30 ปัจจัยต่อแหล่ง และใช้แบบสอบถามความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยวและผู้แทน

              องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ และวิเคราะห์ระดับศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวโดยใช้สมการถ่วงน�้าหนัก
                     ผลการศึกษา สามารถคัดเลือกกิจกรรมท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่โดดเด่นได้ 3 กิจกรรม คือ การล่องเรือ  ดูนก
              และศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน การประเมินศักยภาพทรัพยากรท่องเที่ยว 4 แห่ง พบว่า แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
              ที่มีศักยภาพสูงในการรองรับกิจกรรม ได้แก่ ล่องเรือชมโลมาปากแม่น�้าบางปะกง  ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนเกาะ
              ธรรมชาติท่าข้าม และดูนกเกาะธรรมชาติท่าข้าม  ส่วนอีก 1 แห่ง คือ ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนในโรงเรียนบางปะกง

              บวรวิทยายน มีศักยภาพระดับปานกลาง ดังนั้น ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวบริเวณปากแม่น�้าบางปะกง ควรพัฒนา
              แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพสูงก่อน โดยปรับปรุงสิ่งอ�านวยความสะดวก  ก�าหนดมาตรการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม
              รวมทั้งสร้างเส้นทางท่องเที่ยวให้เกิดการเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่งในพื้นที่ใกล้เคียงเข้าด้วยกัน เพื่อสร้างความ

              น่าสนใจและสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ยิ่งขึ้น

              ค�าส�าคัญ:  ศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยว  กิจกรรมท่องเที่ยวทางธรรมชาติ


                               ค�าน�า                      ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด โดยไม่ได้ก�าหนด

                                                           เส้นทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับจังหวัดที่เป็นทางผ่านแต่
                     ปัจจุบันอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศ
              ไทยได้ขยายตัวมากขึ้น จนกลายเป็นอุตสาหกรรมหลัก  อย่างใด ท�าให้จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นประตูสู่ภาค

              ที่ก่อให้เกิดรายได้ให้กับประเทศ สร้างงาน สร้างรายได้   ตะวันออก ไม่ได้รับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเท่าที่ควร
              สร้างระบบสาธารณูปโภคมากมาย นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่     อ�าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ถือเป็น
              รับทราบถึงประโยชน์และคุณค่าที่ได้จากการท่องเที่ยว  เมืองทางผ่านสู่ภาคตะวันออก ที่มีแหล่งท่องเที่ยวทั้งทาง

              เป็นอย่างดี แต่ยังคงเดินทางท่องเที่ยวตามฤดูกาล และ  วัฒนธรรม และทางธรรมชาติที่น่าสนใจ เช่น บริเวณปาก
              ประกอบกับแรงกระตุ้นจากการส่งเสริมการขาย (การ  แม่น�้าบางปะกงเป็นแหล่งล่องเรือชมโลมา รวมทั้งยังมี
              ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2554) ซึ่งส่วนใหญ่เน้นการ  พื้นที่ป่าชายเลนหลายแห่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดย

              ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเฉพาะจังหวัดที่เป็น  เฉพาะ “เกาะธรรมชาติท่าข้าม” ซึ่งเป็นเกาะธรรมชาติที่
              จุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอยู่แล้ว จึง  มีพรรณไม้หลากหลายชนิด และเป็นแหล่งที่มีนกเข้ามา
              ท�าให้จังหวัดที่เป็นทางผ่านไม่ได้รับความสนใจ ดังเช่น  อาศัยอยู่มากกว่า 50 ชนิด (ส�านักงานนโยบายและแผน
              เมื่อกล่าวถึงภาคตะวันออก ก็จะมุ่งความสนใจไปที่จังหวัด  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2550)  อย่างไร
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237