Page 239 -
P. 239

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                               235



              นก  (DENSITY) 6) ความมั่นคงของแหล่งอาหารส�าหรับ  ที่พบ คือ โลมาอิรวดี (Oreaella brevirostris) โลมาเผือก
              นก (FOOD) และ 7) โครงสร้างของถิ่นที่อยู่อาศัยและ  (Sousa chinensis) และโลมาหัวบาตรหลังเรียบ (Neophocoena
              โอกาสในการถูกท�าลาย (HABITAT) พบว่า ปัจจัยชี้วัด  phocoenoides) (ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากร

              ที่มีคะแนนศักยภาพสูง ได้แก่ โอกาสในการพบชนิด  ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, มปป.) ส�าหรับปัจจัยชี้วัดอื่นๆ
              พันธุ์นกที่หายากหรือใกล้สูญพันธุ์  จ�านวนชนิดพันธุ์  ที่มีคะแนนศักยภาพอยู่ในระดับสูงเช่นเดียวกัน ยกเว้น
              นกท้องถิ่นและชนิดพันธุ์ต่างถิ่น  จ�านวนเส้นทางดูนก    ปัจจัยด้านระยะทางในล�าน�้าอยู่ในระดับต�่า เนื่องจาก
              โครงสร้างของถิ่นที่อยู่อาศัยและโอกาสในการถูกท�าลาย    ต้องล่องเรือออกไปเป็นระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร

              และความมั่นคงของแหล่งอาหารส�าหรับนก ด้วยคะแนน   จึงจะพบโลมา
              3.0  2.78  2.44  2.44 และ 2.44 ตามล�าดับ ซึ่งจากการ     โดยในภาพรวม พบว่า ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
              ส�ารวจภาคสนามชนิดพันธุ์นกหายากหรือใกล้สูญพันธุ์    ของปัจจัยชี้วัดศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ได้จาก
              ที่พบในพื้นที่ ได้แก่ นกกาน�้าปากยาว (Phalacrocorax   การประเมิน มีค่าน้อยกว่า 1 และต�่ากว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิต

              fuscicollis)  นกกระสาแดง (Ardea purpurea)  นก  ค่อนข้างมาก แสดงถึงคะแนนผลการประเมินศักยภาพ
              กาบบัว (Mycteria leucocephala)  นกกระทุง (Pelecanus   ทรัพยากรท่องเที่ยวที่ไม่แตกต่างกันมากนักของผู้ทรง
              philippensis)  นกกาน�้าใหญ่ (Phalacrocorax carbo) ตาม  คุณวุฒิทั้ง 9 ท่าน รายละเอียดดัง Figure 2
              ที่ระบุไว้ในทะเบียนแสดงสถานภาพการถูกคุกคามของ       นอกจากนี้ การศึกษาครั้งนี้ ยังมีความเห็น

              นกในประเทศไทย (Sanguansombat, 2005)          สอดคล้องกับนภวรรณ และคณะ (2550) ที่ยืนยันถึง
                     ในส่วนของ กิจกรรมล่องเรือชมธรรมชาติ   ความจ�าเป็นที่นักจัดการแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
              ปากแม่น�้าบางปะกง มีปัจจัยชี้วัด ประกอบด้วย 1) จ�านวน  ควรต้องประเมินศักยภาพของทรัพยากรในพื้นที่ และ
              ชนิดสัตว์ที่พบเห็นขณะล่องเรือ (SPECIES)  2) โอกาส  น�าผลที่ได้มาใช้ในกระบวนการวางแผนด้านการจัดการ

              ในการพบสัตว์ที่หายากหรือใกล้สูญพันธุ์ (RARE)   การท่องเที่ยว เนื่องจากการประเมินศักยภาพท�าให้
              3) คุณภาพด้านทัศนียภาพของภูมิทัศน์ (SCENIC)    ทราบข้อมูลพื้นฐานของทรัพยากรในพื้นที่ว่ามีจุดเด่นที่
              4) ระยะทางในล�าน�้า (DISTANCE)  5) ความถี่ ในการ  สามารถน�ามาพัฒนาเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของแหล่ง
              เกิดปรากฏการณ์น�้าเปลี่ยนสี (REDTIDE) 6) ความเชี่ยว  ท่องเที่ยวหรือมีความเหมาะสมต่อการประกอบกิจกรรม

              ของกระแสน�้าและคลื่นลม (CURRENT) 7) ปริมาณ   ท่องเที่ยวแบบใด รวมทั้งท�าให้ทราบถึงข้อจ�ากัดในการ
              ออกซิเจนละลายในน�้า (DO) และ 8) สีและความขุ่นของ  ใช้ประโยชน์และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อรองรับ
              น�้า (COLOR)  พบว่า ปัจจัยชี้วัดที่มีคะแนนศักยภาพสูง  กิจกรรมในรูปแบบที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับ
              ที่สุด คือ จ�านวนชนิดสัตว์ที่พบเห็นขณะล่องเรือ และ  ระดับศักยภาพของฐานทรัพยากรที่มีอยู่ อันจะน�าไปสู่

              โอกาสในการพบสัตว์ที่หายากหรือใกล้สูญพันธุ์ ด้วย  เป้าหมายของการรักษาคุณภาพของทรัพยากรให้สามารถ
              คะแนน 3.0 โดยชนิดพันธุ์สัตว์หายากหรือใกล้สูญพันธุ์  ใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน
   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244