Page 244 -
P. 244
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
240
ความถี่ที่แตกต่างกันจะให้ภาพถ่ายของอุณหภูมิ 1. ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม FY-2E
ส่องสว่างที่แตกต่างกัน ส�าหรับการวิจัยนี้ได้รวบรวมข้อมูลภาพถ่าย
การศึกษานี้จะมีวัตถุประสงค์เพื่อท�าการหา ดาวเทียม FY-2E จากฐานข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ค่าอุณหภูมิส่องสว่างที่ได้จากภาพถ่ายดาวเทียม FY-2E ของกรมอุตุนิยมวิทยา และจากคณะวิทยาศาสตร์
รวมทั้งศึกษาลักษณะความผันแปรของอุณหภูมิดังกล่าว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยดาวเทียม FY-2E เป็น
นอกจากนั้นในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาชนิดค้างฟ้า (geostationary
ฝนและภาพถ่ายดาวเทียม FY-2E ได้เลือกใช้เทคนิค satllite) ของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งจุดเด่น
โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network; ของดาวเทียม FY-2E คือมีต�าแหน่งอยู่ใกล้เคียงกับ
ANNs) เพื่อท�าการประเมินค่าปริมาณฝนในประเทศไทย ประเทศไทยมากที่สุดเมื่อเทียบกับดาวเทียมค้างฟ้าอื่นๆ
โดยท�าการแยกพื้นที่ออกเป็น 5 พื้นที่ตามลักษณะทาง จึงท�าให้ความผิดพลาดจากการบิดเบือนของภาพมีผล
ภูมิศาสตร์ที่ส่งผลต่อการก่อตัวของเมฆที่แตกต่างกัน น้อย โดยดาวเทียม FY-2E นี้ได้ถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ
(Ahrens, 2010) ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และเริ่มใช้งานจริงในปี
ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ พ.ศ. 2551 ซึ่งดาวเทียม FY-2E นั้นมีอุปกรณ์การตรวจ
วัด (sensor) ชนิด VIS/IR ซึ่งข้อมูลการตรวจวัดเมฆและ
อุปกรณ์และวิธีการ วัตถุในบรรยากาศด้วยความยาวคลื่น 5 ช่วง (Table 1)
2. ข้อมูลขอบเขตจังหวัด และขอบเขตประเทศ
ตรวจสอบและทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจาก ไทย มาตราส่วน 1:50,000 ชุดแผนที่ L7018 จากกรม
เอกสารวิชาการที่มีการเผยแพร่ในวารสารที่เป็นสากล พัฒนาที่ดิน
และมีความน่าเชื่อถือ ในขอบข่ายที่มีความเกี่ยวข้องได้แก่ 3. ข้อมูลสถานีตรวจวัดปริมาณฝน
งานวิจัยด้านการใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมมาวิเคราะห์ โดยข้อมูลในส่วนของปริมาณฝนนั้น ได้
เพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ การประยุกต์ใช้โครง รวบรวมข้อมูลจากการตรวจวัดของกรมอุตุนิยมวิทยา โดย
ข่ายประสาทเทียมกับงานด้านต่างๆ และงานวิจัยที่มี มีจ�านวนสถานีที่ใช้ทั้งสิ้น 930 สถานี ซึ่งข้อมูลดังกล่าว
ความใกล้เคียงกันที่ได้มีการศึกษามาแล้ว เป็นข้อมูลจากสถานีตรวจวัดฝนอัตโนมัติ โดยน�าข้อมูล
รวบรวมข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยาที่เกี่ยวข้อง รายวินาทีมาท�าการวิเคราะห์ความเข้มของฝน (rainfall
เพื่อใช้ในการศึกษาดังนี้ intensity) ณ เวลาเดียวกับที่ดาวเทียมท�าการถ่ายภาพ
Table 1 Spectrum bands and wavelengths of FY-2E geostationary satellite.
Spectrum band Wavelength (µm)
VIS 0.50-0.75
IR1 10.3-11.3
IR2 11.5-12.5
WV 6.3-7.6
IR4 3.5-4.0
Source: World Meteorological Organization (2011)