Page 9 -
P. 9
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 1-14 (2555) 7
์
1. จ�านวนชนิดพันธุ์ไม้ในป่า ไม่มีไฟป่า มีพันธุ์ไม้ทั้งหมด 46 ชนิด ใน 38 สกุล
ป่าเต็งรังที่มีไฟป่ามีพันธุ์ไม้ทั้งหมด 42 ชนิด 25 วงศ์ พบพันธุ์ไม้ในวงศ์ถั่ว (leguminosae) มากที่สุด
ใน 36 สกุล 22 วงศ์ พบพันธุ์ไม้ในวงศ์เข็ม (rubiaceae) 7 ชนิด รองลงมา คือ วงศ์มะขามป้อม (euphorbiaceae)
มากที่สุด 6 ชนิด รองลงมา คือ วงศ์ถั่ว (leguminosae) 5 ชนิด วงศ์เข็ม (rubiaceae) 5 ชนิด และวงศ์ไม้ยาง
5 ชนิด วงศ์ยาง (dipterocarpaceae) 4 ชนิด และวงศ์ (dipterocarpaceae) 4 ชนิด (Figure 2)
มะขามป้อม (euphorbiaceae) 3 ชนิด ส่วนป่าเต็งรังที่
Figure 2 Species richness in dry dipterocarp forest with and without fire.
2. ลักษณะเชิงปริมาณของพรรณไม้ คือ พลวง (510 ต้นต่อเฮกแตร์) เต็ง (394 ต้นต่อเฮกแตร์)
2.1 ความถี่ของพันธุ์ไม้ เหมือดหลวง (235 ต้นต่อเฮกแตร์) รักใหญ่ (197 ต้น
ป่าเต็งรังที่มีไฟป่า มีพันธุ์ไม้ที่มีค่าความถี่ ต่อเฮกแตร์) เหียง (110 ต้นต่อเฮกแตร์) แสลงใจ (68 ต้น
สัมพัทธ์ของการพบสูงกว่าร้อยละ 80 จัดเป็นพันธุ์ไม้ ต่อเฮกแตร์) และมะเกิ้ม (67 ต้นต่อเฮกแตร์) ตามล�าดับ
ที่พบได้ทั่วไปในป่า ได้แก่ พลวง (D. tuberculatus) ป่าเต็งรังที่ไม่มีไฟป่ามีความหนาแน่นเฉลี่ย
และเต็ง (S. obtusa) รองลงมาเป็นพันธุ์ไม้ที่พบปานกลาง 1,809 ต้นต่อเฮกแตร์ พันธุ์ไม้ที่มีความหนาแน่นมาก
(ความถี่ร้อยละ 60 - 80) ได้แก่ รักใหญ่ (Gluta usitata) ที่สุด คือ พลวง (573 ต้นต่อเฮกแตร์) เต็ง (414 ต้นต่อ
เหมือดหลวง (Aporusa villosa) เป็นต้น ส่วนป่าเต็งรัง เฮกแตร์) เหมือดหลวง (191 ต้นต่อเฮกแตร์) มะเกิ้ม
ที่ไม่มีไฟป่า มีพันธุ์ไม้ที่มีค่าความถี่ของการพบสูงกว่า (153 ต้นต่อเฮกแตร์) และรักใหญ่ (127 ต้นต่อเฮกแตร์)
ร้อยละ 80 ได้แก่ พลวง รองลงมาเป็นพันธุ์ไม้ที่พบ ตามล�าดับ ส่วนพันธุ์ไม้อื่นๆ พบขึ้นอยู่น้อยถึงปานกลาง
ปานกลาง ได้แก่ เต็ง รักใหญ่ เหมือดหลวง มะเกิ้ม ทั้งสองพื้นที่ (Figure 3)
(Canarium subulatum) เป็นต้น 2.3 ความเด่นของพันธุ์ไม้
ป่าเต็งรังที่มีไฟป่าพบพันธุ์ไม้ที่มีความเด่น
2.2 ความหนาแน่นของพันธุ์ไม้ สัมพัทธ์มากที่สุด คือ พลวง (ร้อยละ 44.95 ของพันธุ์ไม้
ป่าเต็งรังที่มีไฟป่า มีความหนาแน่นเฉลี่ย ทั้งหมด) รองลงมาคือ เหียง (ร้อยละ 13.58) เต็ง
1,827 ต้นต่อเฮกแตร์ พันธุ์ไม้ที่มีความหนาแน่นมากที่สุด (ร้อยละ 13.19) รักใหญ่ (ร้อยละ 12.48) เหมือดหลวง