Page 4 -
P. 4

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                  2                           Thai J. For. 31 (3) : 1-14 (2012)



                  composed  of  stem,  branch,  leaf,  and  root  biomass  of  82.1,  29.3,  2.0  and  15.0  Mg  ha ,
                                                                                                     -1
                  respectively.  The  total  carbon  biomass  was  63.4  Mg  ha   which  accumulated  in  the  stem,
                                                                      -1
                  branch,  leaf,  and  root  biomass  at  41.0,  14.2,  1.0  and  7.2  Mg  ha ,  respectively.  Plant
                                                                                  -1
                  growth  was  interrupted  by  forest  fire,  so  more  big  trees  (girth  >  100  cm)  were  found  in
                  DDF  without  fire  than  in  DDF  with  annual  fire.  As  a  result,  biomass  and  carbon  storage
                  in  DDF  without  fire  were  higher  than  in  DDF  with  annual  fire.  Thus,  forest  fire  control
                  could  be  a  tool  to  increase  carbon  stocks  in  DDF.

                  Keywords: dry dipterocarp forest, forest fire, plant species diversity, carbon stocks


                                                       บทคัดย่อ


                         การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความหลากชนิดพันธุ์ไม้และการสะสมคาร์บอนในมวลชีวภาพป่า
                  เต็งรังที่มีไฟป่าเกิดขึ้นเป็นประจ�าทุกปีและป่าเต็งรังที่ไม่มีไฟป่าเกิดขึ้นอย่างน้อย 10 ปี ที่สถานีวนวัฒนวิจัยอินทขิล
                  จังหวัดเชียงใหม่  การประเมินลักษณะของสังคมพืชโดยวิเคราะห์ค่าความถี่  ความเด่น  ความหนาแน่น  ดัชนีความ
                  ส�าคัญทางนิเวศ และความหลากชนิดพันธุ์ไม้ ตามสมการ Shanon-Wiener index (Krebs, 1985) ส�าหรับการวิเคราะห์
                  มวลชีวภาพเหนือพื้นดินของป่าเต็งรังวิเคราะห์ตาม Ogino et al. (1967)  มวลชีวภาพรากวิเคราะห์ตาม Ogawa et al.
                  (1965) และการสะสมคาร์บอนในมวลชีวภาพวิเคราะห์ตาม Tsutsumi et al. (1983) ผลการศึกษาพบว่า ป่าเต็งรังที่มี
                  ไฟป่ามีพันธุ์ไม้ทั้งหมด 42 ชนิด ใน 36 สกุล 22 วงศ์ ไม้พลวงเป็นพันธุ์ไม้เด่นที่มีดัชนีความส�าคัญมากที่สุด รองลง
                  มาได้แก่ เต็ง รักใหญ่ เหียง เหมือดหลวง และมะเกิ้ม ดัชนีความหลากชนิดเท่ากับ 3.24 ส่วนป่าเต็งรังที่ไม่มีไฟป่า มี
                  พันธุ์ไม้ทั้งหมด 46 ชนิด ใน 38 สกุล 25 วงศ์ มีไม้พลวงเป็นพันธุ์ไม้เด่นที่สุด รองลงมาคือ เต็ง รักใหญ่ เหมือดหลวง
                  และมะเกิ้ม ดัชนีความหลากชนิดเท่ากับ 3.20 ป่าเต็งรังที่มีไฟป่ามีมวลชีวภาพป่าไม้ 106.6 ตันต่อเฮกแตร์ แยกเป็น
                  มวลชีวภาพล�าต้น กิ่ง ใบและราก 68.6, 22.9, 1.9 และ 13.1 ตันต่อเฮกแตร์ ตามล�าดับ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวล
                  ชีวภาพทั้งหมด 52.6 ตันต่อเฮกแตร์ แยกเป็นส่วนของล�าต้น กิ่ง ใบและราก 34.3, 11.1, 0.9 และ 6.3 ตันต่อเฮกแตร์
                  ตามล�าดับ ส่วนป่าเต็งรังที่ไม่มีไฟป่ามีมวลชีวภาพป่าไม้ 128.3 ตันต่อเฮกแตร์ แยกเป็นมวลชีวภาพล�าต้น กิ่ง ใบและ
                  ราก 82.1, 29.3, 2.0 และ 15.0 ตันต่อเฮกแตร์ ตามล�าดับ โดยมีปริมาณคาร์บอนในมวลชีวภาพทั้งหมด 63.4 ตันต่อ
                  เฮกแตร์ แยกเป็นส่วนของล�าต้น กิ่ง ใบและราก 41.0, 14.2, 1.0 และ 7.2 ตันต่อเฮกแตร์ ตามล�าดับ เนื่องจากไม่มีไฟ
                  ป่าเข้าไปรบกวนการเจริญเติบโตของต้นไม้ ท�าให้พบไม้ขนาดใหญ่ (ขนาดเส้นรอบวงโตกว่า 100 เซนติเมตร) ในป่า
                  เต็งรังที่ไม่มีไฟป่ามากกว่าบริเวณที่มีไฟป่าเกิดขึ้นเป็นประจ�า  ปริมาณมวลชีวภาพและการสะสมคาร์บอนในป่าเต็ง
                  รังที่ไม่มีไฟป่าจึงมากกว่าป่าเต็งรังที่มีไฟป่าด้วย  ดังนั้น  หากมีการควบคุมไฟป่าจะมีโอกาสเพิ่มการสะสมคาร์บอน
                  ในป่าเต็งรังมากขึ้น


                  ค�าส�าคัญ:  ป่าเต็งรัง ไฟป่า ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ การสะสมคาร์บอน


                                   ค�าน�า                      มักจะขึ้นตามภูเขาที่มีโขดหิน  ดินตื้นและมีความอุดม
                                                               สมบูรณ์ต�่า  มีหินลูกรังปะปน  ต้นไม้ที่พบแคระแกรน
                         ป่าเต็งรัง  (dry  dipterocarp  forest)  เป็นสังคม  คดงอ  ขึ้นกระจายอยู่ห่างๆ  ในพื้นที่ค่อนข้างราบจะเป็น

                  พืชป่าผลัดใบ  (deciduous  forest)  ปกติจะขึ้นในพื้นที่  ดินทราย  ต้นไม้ที่ขึ้นอยู่มีล�าต้นตรงและเจริญเติบโต
                  แห้งแล้งที่มีระยะ  5  -  6  เดือนต่อปี  ได้รับปริมาณน�้าฝน    ค่อนข้างดี พรรณไม้เด่นคือ ไม้วงศ์ยาง (Dipterocarpaceae)
                  900  -  1,200  มิลลิเมตรต่อปี  ในภาคเหนือป่าเต็งรัง  4  ชนิด  ได้แก่  เต็ง  (Shorea  obtusa)  รัง  (S.  siamensis)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9