Page 5 -
P. 5
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 1-14 (2555) 3
์
เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) และพลวง (D. ไฟป่ามีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของ
tuberculatus) เนื้อไม้ นอกจากนี้แผลที่เกิดจากไฟไหม้จะชักน�าให้
จากการส�ารวจป่าเต็งรังในประเทศไทยใน โรคและแมลงเข้าไปท�าอันตรายเนื้อไม้ หากมีไฟไหม้
ปี พ.ศ. 2523 พบว่า ประเทศไทยมีเนื้อที่ป่าเต็งรังอยู่ ทุกปี พื้นที่จะแห้งแล้ง ต้นไม้ก็จะเติบโตช้า ผลผลิต
ประมาณ 91.88 ล้านไร่ (ประมาณ 47 เปอร์เซ็นต์ และคุณภาพของไม้ก็จะอยู่ในระดับต�่า (สันต์ และคณะ,
ของเนื้อที่ป่าทั้งหมดของประเทศ) และลดลงเหลือ 2531) ดังนั้น จ�าเป็นต้องหาแนวทางการควบคุมไฟป่า
16.75 ล้านไร่ (ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์) ในปี พ.ศ. ในป่าเต็งรังให้เกิดความสมดุลและเกิดประโยชน์สูงสุด
2541 (Charuphat, 1998) เฉลี่ยแล้วพื้นที่ป่าเต็งรังของ จากรายงานสถิติการเกิดไฟป่าของกรมอุทยานแห่งชาติ
ประเทศไทยลดลงถึงปีละ 1.5 เปอร์เซ็นต์ หรือประมาณ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (2548) พบว่า ภาคเหนือของ
4.17 ล้านไร่ต่อปี ป่าเต็งรังที่ถูกท�าลายต้องการระยะ ประเทศไทยมีอัตราการเกิดไฟป่าบ่อยครั้งและมีพื้นที่
เวลานานถึง 60 ปีในการฟื้นสภาพ (gap phase) และ เสียหายมากที่สุด 28,999 ไร่ โดยพบว่าไฟป่าเกิดใน
62 ปีในการพัฒนาการเจริญเติบโต (building phase) ป่าเต็งรังมากที่สุด มีสาเหตุส่วนใหญ่จากการเก็บหา
และอีก 122 ปีในการเจริญเติบโตและพัฒนาเป็นป่าที่ ของป่า รองลงมาคือการล่าสัตว์ และเผาไร่
สมบูรณ์ (Dhanmanonda, 1994) ป่าเต็งรังที่อุดมสมบูรณ์ ผลกระทบของไฟป่าที่ส�าคัญอีกประการหนึ่ง
ที่สุดของประเทศไทยนั้นอยู่ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คือก่อให้เกิดสภาพก๊าซเรือนกระจกเพิ่มมากขึ้น ท�าให้มี
ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี (Maksirisombart, 1997) การดูดกลืนและแผ่รังสีความร้อนเอาไว้ในโลกมากขึ้นด้วย
ป่าเต็งรังจัดเป็นสังคมป่าถาวรที่มีไฟป่าเป็น ก่อให้เกิดปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ตัวก�าหนด (fire climax community) หากไม่มีไฟป่าจะ (climate change) หรือภาวะโลกร้อน (global warming)
เปลี่ยนสภาพไปเป็นป่าชนิดอื่น ไฟป่าเป็นปัจจัยส�าคัญ หรือปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effects)
ต่อการจัดโครงสร้าง การคงชนิดพันธุ์ในสังคมพืช และ การเจริญเติบโตของต้นไม้ในป่าจะดูดซับก๊าซ
การเจริญทดแทนของพันธุ์ไม้ การควบคุมไฟป่าใน คาร์บอนไดออกไซด์และเปลี่ยนสภาพให้เป็นมวล
ป่าเต็งรังติดต่อกันเป็นเวลานานจะท�าให้สังคมพืชในป่า ชีวภาพ (biomass) กระบวนการนี้เรียกว่า การสะสม
เปลี่ยนสภาพไปสู่สังคมพืชที่ชื้นกว่า โดยลดประสิทธิภาพ คาร์บอนหรือการกักเก็บ (carbon sequestration) ซึ่งถือ
การเจริญทดแทนของไม้ดัชนีโดยเฉพาะเหียง พลวง ได้ว่าเป็นกระบวนการที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการลด
เต็ง รัง เนื่องจากเมล็ดของไม้เหล่านี้ไม่สามารถตกถึง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การเพิ่มพูนปริมาณการเก็บ
พื้นดินได้ การงอกของเมล็ดเป็นไปอย่างรวดเร็วหลัง กักคาร์บอนมีความสัมพันธ์โดยตรงกับมวลชีวภาพที่
การตกและรากมักแห้งตาย กล้าไม้และไม้ขนาดกลาง เพิ่มขึ้นรายปี (Creedy and Wurzbacher, 2001)
มักอ่อนแอลงและเมื่อได้รับแสงน้อยเนื่องจากไม้อื่น สภาพป่าที่สถานีวนวัฒนวิจัยอินทขิล อ�าเภอ
ขึ้นหนาแน่น สภาพดินที่ชื้นขึ้นอาจเป็นสาเหตุให้ไม้ แม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นป่าเต็งรังรุ่นที่สองที่เริ่ม
ดัชนีดังกล่าวล้มตายลงในที่สุด ไม้ป่าที่ชอบสภาพแวดล้อม ฟื้นตัวจากการท�าไม้ในอดีต โดยมีไม้เหียง พลวง เต็ง
แบบใหม่ก็จะเข้ามาทดแทนสังคมป่าเต็งรังเดิม ในทาง และรังเป็นพันธุ์ไม้เด่น เนื่องจากสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่
ตรงกันข้ามหากปล่อยให้เกิดไฟป่าในป่าเต็งรังอย่าง เป็นหิน หน้าดินตื้น ดินเป็นดินร่วนปนทราย มีไฟไหม้ป่า
ต่อเนื่องและรุนแรงโดยปราศจากการควบคุม ไฟป่าจะ เกิดขึ้นเกือบทุกปี การฟื้นตัวของป่าบริเวณนี้จึงเป็น
ท�าลายสภาพสังคมพืชท�าให้ต้นไม้แคระแกรนหรือ ไปได้ช้ากว่าปกติเนื่องจากเมล็ดไม้ กล้าไม้ ไม้รุ่นและ
อาจกลายสภาพเป็นป่าทุ่งในที่สุด (Cooling, 1968; สันต์ พืชพื้นล่างถูกไฟท�าลาย แต่มีพื้นที่บางส่วนของป่าเต็งรัง
และคณะ, 2534) แห่งนี้ (ประมาณ 30 ไร่) มีการดูแลและป้องกันไฟป่า