Page 6 -
P. 6
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
4 Thai J. For. 31 (3) : 1-14 (2012)
เป็นอย่างดี ท�าให้ไม่มีไฟไหม้ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 10 ปี กิโลเมตรที่ 45 ถนนเชียงใหม่-ฝาง ต�าบลอินทขิล
สภาพป่าจึงน่าจะมีความอุดมสมบูรณ์มากกว่าบริเวณ อ�าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ บริเวณเส้นละติจูด
อื่นที่ถูกไฟไหม้ ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ 17 08´เหนือ และเส้นลองจิจูดที่ 96 57´ตะวันออก
0
0
เพื่อประเมินความหลากชนิดพันธุ์ไม้และการสะสม ณ พิกัด 47Q 0495421 UTM 2117377 (Figure 1)
คาร์บอนในป่าเต็งรังบริเวณที่มีไฟป่าทุกปีและไม่มี พื้นที่อยู่สูงจากระดับน�้าทะเลปานกลางประมาณ
ไฟป่า เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดการฟื้นฟู 400 เมตร อุณหภูมิเฉลี่ย 26 องศาเซลเซียส โดยมี
ป่าเต็งรังให้มีความอุดมสมบูรณ์และเป็นประโยชน์ อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิ
ต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมต่อไป ต�่าสุดเฉลี่ย 20.9 องศาเซลเซียส ปริมาณน�้าฝนเฉลี่ย
รายปีเท่ากับ 1,174 มิลลิเมตร มีจ�านวนวันที่ฝนตก
อุปกรณ์และวิธีการ เฉลี่ยต่อปี 101 วัน ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยร้อยละ 85
สภาพพื้นที่ลาดเอียงเล็กน้อย ดินเป็นดินลูกรังมีความ
การวิจัยได้ด�าเนินการในพื้นที่สถานีวนวัฒน อุดมสมบูรณ์ต�่า สภาพป่าโดยทั่วไปเป็นป่าเต็งรัง (ศูนย์
วิจัยอินทขิล อ�าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ วนวัฒนวิจัยภาคเหนือ, ม.ป.ป.)
Figure 1 Location of study area.
การวางแปลงตัวอย่างในการศึกษาพันธุ์ไม้ ที่มีความสูง > 1.50 เมตร เพื่อค�านวณค่าความถี่
ท�าการสุ่มวางแปลงตัวอย่างขนาด 100 x 100 ความเด่น ความหนาแน่น ดัชนีความส�าคัญทางนิเวศ
ตารางเมตร ในป่าเต็งรังธรรมชาติบริเวณที่ไม่มีไฟป่า (important value index, IVI) และดัชนีความหลากชนิด
เกิดขึ้น จ�านวน 2 แปลง และบริเวณที่มีไฟป่าเกิดขึ้น (Shannon-Wiener index of species diversity) (Krebs,
ประจ�าทุกปีจ�านวน 2 แปลง (บริเวณที่มีไฟป่าและ 1985) ส�าหรับการศึกษาการทดแทนตามธรรมชาติใช้
ไม่มีไฟป่าอยู่ห่างกันประมาณ 500 เมตร) บันทึกต�าแหน่ง วิธีการนับจ�านวนกล้าไม้และพืชพื้นล่างของพืชแต่ละ
แปลงตัวอย่างทุกแปลงด้วย GPS แต่ละแปลงแบ่งออก ชนิดในแปลงขนาด 2 x 2 ตารางเมตร ซึ่งวางตรง
เป็นแปลงย่อยขนาด 10 x 10 ตารางเมตร เก็บข้อมูล มุมแปลงขนาด 10 x 10 ตารางเมตร ทุกแปลง
เส้นรอบวงล�าต้นที่เพียงอกหรือ 1.30 เมตร จากพื้นดิน ค�านวณหามวลชีวภาพของส่วนที่เป็นล�าต้น
(GBH) และแปลงเป็นค่าเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงอก (DBH) กิ่ง และใบ ตามสมการ allometry ของ Ogino et al.
และความสูงของต้นไม้ทุกชนิดที่พบในแปลงตัวอย่าง (1967) ส�าหรับการค�านวณหามวลชีวภาพของส่วนที่