Page 10 -
P. 10

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              8                           Thai J. For. 31 (1) : 1-9 (2012)



              ตามลําดับ (Table 5) เห็นวาไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญ     การเปลี่ยนแปลงความชื้นในดินและมวล
              ทางสถิติ (P>0.05) ซึ่งแสดงใหเห็นวาพื้นที่ปาธรรมชาติ  ชีวภาพของซากพืชในแตละพื้นที่  พบวาเปนไปในรูป
              นั้นอุณหภูมิของดินไมคอยเปลี่ยนแปลงมากระหวาง  แบบที่คลายคลึงกัน คือ คาความชื้นดินและมวลชีวภาพ
              ฤดูกาลเมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูกฟนฟู สอดคลองกับการ  ซากพืชเพิ่มขึ้นในฤดูฝนและคามีคาลดลงในฤดูแลง

              ศึกษาของ รุงนภา (2545) พบวา ปจจัยสิ่งแวดลอม เชน   สวนการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิดินทั้ง 5 พื้นที่ พบวา
              ความชื้นดิน มวลชีวภาพ นั้นมีความแตกตางกันมาก  การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิดินระหวางพื้นที่นั้นในพื้นที่
              ระหวางฤดูกาลในขณะที่อุณหภูมิดินมีคาใกลเคียงกัน  ปาดิบแลง  ปาผสมผลัดใบ  และพื้นที่เคยฟนฟูมากอน
              ซึ่งมีความผันแปรนอยในปาดิบแลง             มีอุณหภูมิระหวางฤดูกาลไมแตกตางกันมากและมี
                                                           อุณหภูมิตํ่ากวาในพื้นที่โซน C และโซน A
                               สรุป                               สําหรับระยะเวลาในการเก็บขอมูลนั้นควร
                                                           มีการติดตามการเปลี่ยนแปลงเปนระยะๆ เพื่อดูการ

                     การศึกษาความหลากชนิดของแมลงในพื้นที่  เปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลในแตละปแลวนํามาเปรียบ
              ทั้งหมดพบแมลงทั้งหมด 11 อันดับ 24 วงศ 37 สกุล 43   เทียบกัน จะไดขอมูลที่ละเอียดมากยิ่งขึ้น และนําไป
              ชนิดและเมื่อทําการสํารวจในแตละพื้นที่ พบวา ปาดิบ  ติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ
              แลงพบจํานวนวงศ สกุล และชนิดมากที่สุด รองลงมา  เพื่อนําไปใชเปนแนวทางในการอนุรักษและจัดการ
              คือ  พื้นที่เคยฟนฟู  ปาผสมผลัดใบ  พื้นที่โซน C  และ  ความหลากหลายทางชีวภาพและใชในการจัดการ
              พื้นที่โซน A มีจํานวนนอยที่สุด              พื้นที่เสื่อมโทรมในอนาคตตอไป
                     โครงสรางความหลากหลายของแมลง พบวา

              คาดัชนีความหลากหลายในปาดิบแลงมีคาสูงสุด  และ     เอกสารและสิ่งอางอิง
              พื้นที่โซน C  มีคานอยที่สุด  สวนคาความคลายคลึงคา
              พบวา พื้นที่ฟนฟูโซน C มีคาความคลายคลึงกับพื้นที่  รุงนภา  พูลจําปา. 2545.  การใชมดเปนตัวบงชี้สังคม
              โซน A  สูงสุด  ปาดิบแลงมีความคลายคลึงกับปาผสม     พืชในบริเวณอุทยานแหงชาติเขาใหญ.
              ผลัดใบมากสุด  และ  คาดัชนีความคลายคลึงของแมลง     วิทยานิพนธปริญญาโท,มหาวิทยาลัย
              ระหวางฤดูฝนและฤดูแลงในแตละพื้นที่มีคาใกลเคียง     เกษตรศาสตร.

              รอยละ 60  แสดงใหเห็นวา  แมลงสามารถปรับตัวให  สดใส พิมพทองงาม, ยุพา หาญบุญทรง และชลีมาศ
              ดํารงชีวิตอยูไดทั้งสองฤดู  และความหนาแนนของ      บุญไทย อิ วาย. 2546. การเปลี่ยนแปลง
              แมลง  พบวา  ปาดิบแลงมีคาเฉลี่ยความหนาแนนของ     ประชากรอารโทปอดในดิน  ในระบบนิเวศ
              แมลงสูงสุด ในขณะที่พื้นที่โซน A มีคาเฉลี่ยความหนา     ปาไมและระบบนิเวศเกษตร. การประชุม
              แนนของแมลงตํ่าสุด                                  วิชาการเสนอผลงานวิทยานิพนธ  ครั้งที่ 6.
                     องคประกอบของชนิดแมลงในแตละพื้นที่          แหลงที่มา:http://gs.kku.ca.th/proceeding/
              จัดเปนแมลงพวกผูยอยสลายซึ่งชนิดแมลงที่เดนใน      Proceeding/bio/sodsai.pdf.วันที่ 18 ธันวาคม

              แตละพื้นที่ ไดแก แมลงกลุมมด ดวงดิน และปลวก ซึ่ง  2547.
              ถือวามีบทบาทตอโครงสรางของดินเปนอยางมาก และ  Ahlgren, I. F. 1974. The effect of fire on soil organ
              สงผลโดยตรงตอความสําเร็จของการฟนฟูพื้นที่เหมือง     isms, pp. 47-71. In C. E. Ahlgren and T. T.
              อีกดวย                                             Kozlowski eds. Fire and Ecosystem. Academic
                                                                  Press, New York.
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15