Page 8 -
P. 8

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              6                           Thai J. For. 31 (1) : 1-9 (2012)



              Table 3  Similarity index of species in studied areas in each area at Siam Cement
                       (Kaeng Khoi) Co., Ltd., Saraburi.

                                    Zone     Zone       Former       Dry evergreen  Mixed deciduous
             Study area
                                      C        A      reclamation        forest           forest
             Zone C                   _        64.7        56.41         44.44            39.02
             Zone A                             _          59.45         41.86            41.03
             Former reclamation                              _           54.16            54.54
             Dry evergreen forest                                          _              64.00
             Mixed deciduous forest                                                         _

                     การศึกษาความมากมายสัมพัทธ (Table 4)   ปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการที่มีผลตอการ

              ของชนิดแมลงในพื้นที่ศึกษาแตละพื้นที่นั้นจะเห็น  ปรากฏของแมลง
              ไดวาแมลงในอันดับ Hymenoptera จะเปนแมลงกลุม      จากการศึกษาเปอรเซ็นตความชื้นของดิน

              เดนที่สุดในแตละพื้นที่ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ   พบวา  ในชวงฤดูแลงในปาดิบแลงมีคาเฉลี่ยความชื้น
              Morris (1990) พบวา แมลงในอันดับ Hemiptera และ   ของดินมีคาสูดสุด คือ รอยละ 3.63  รองลงมาคือ ปา
              อันดับ Hymenoptera จะเปนแมลงที่ประสบความสําเร็จ  ผสมผลัดใบ พื้นที่เคยฟนฟู พื้นที่โซน C และ พื้นที่

              ในระยะแรกในการปรับตัวใหเขากับสภาพพื้นที่ที่ได  โซน A  ตามลําดับ  สวนในชวงฤดูฝนปาผสมผลัดใบ
              รับการฟนฟูขึ้นมาใหมและเมื่อศึกษาในพื้นที่เคยฟนฟู  มีคาเฉลี่ยความชื้นดินมีคาสูงสุด  คือ  รอยละ 18.71

              จะพบแมลงในอันดับ Coleoptera เปนกลุมเดนในพื้นที่  รองลงมาคือ  ปาดิบแลง  พื้นที่โซน C  พื้นที่เคยฟนฟู
              ดวยเนื่องจากแมลงในกลุมนี้จะมีความสามารถในการ  และ พื้นที่โซน A ตามลําดับ จึงสรุปไดวาพื้นที่โซน

              กระจายจํานวนประชากรอยางชาๆ เมื่อสภาพแวดลอม  C  และพื้นที่โซน A  มีความชื้นดินตํ่ากวา  พื้นที่เคย
              เหมาะสม                                      ฟนฟู  ปาดิบแลง  และปาผสมผลัดใบทั้งฤดูแลงและ
                                                           ฤดูฝนและเมื่อนํามาวิเคราะหความแตกตางทางสถิติ
                     และเมื่อศึกษาในพื้นที่เคยฟนฟูจะพบ   ของแตละพื้นที่พบวาปาดิบแลงแตกตางกับพื้นที่
              แมลงในอันดับ Coleoptera เปนกลุมเดนในพื้นที่ดวย  โซนA อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) สอดคลอง
              เนื่องจากแมลงในกลุมนี้จะมีความสามารถในการ   กับการศึกษาของ Wiwatwitaya and Takeda (2005)

              กระจายจํานวนประชากรอยางชาๆเมื่อสภาพแวดลอม  ที่ทําการศึกษาการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของอาร
              เหมาะสมซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ Majer et al.   โทปอดในดินในปาดิบแลงของภาคตะวันออกเฉียง

              (1984) และ Holl (1995) ที่กลาววา พื้นที่ที่ไดรับการ  เหนือของไทย พบวาความชื้นในดินในชวงฤดูฝนมีคา
              ฟนฟูอยางเปนระบบจากการทําเหมืองแรแมลงในกลุม  ประมาณรอยละ 19 และในชวงฤดูแลงมีคาอยูระหวาง
              ดวยมีคุณลักษณะพิเศษในการตั้งถิ่นฐานและกระจาย  รอยละ5 ถึง รอยละ 10  เปนการแสดงใหเห็นวาในปา

              พันธุไดดีในพื้นที่ใหมและมีความสามารถในการการ  ธรรมชาตินั้นจะมีการเก็บความชื้นไวตลอดทั้งปได
              ขยายจํานวนประชากรอยางชาๆและครอบครองพื้นที่  ดีกวาในพื้นที่ที่ถูกรบกวนหรือเปนพื้นที่ที่มีกิจกรรม

              ในระยะเริ่มตน                               สวนจากการศึกษามวลชีวภาพซากพืชพบวามวล
                                                           ชีวภาพฤดูแลงในพื้นที่เคยฟนฟูมีคาเฉลี่ยมวลชีวภาพ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13