Page 4 -
P. 4

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              2                           Thai J. For. 31 (1) : 1-9 (2012)



              ประชากรแมลงในดินในพื้นที่เหมืองหินปูนภายหลังทําการฟนฟูบูรณะผลผลิตใหมและศึกษาการแปรผันของ
              ประชากรแมลงในแตละชวงฤดูกาลของแตละพื้นที่ศึกษา
                     ผลการศึกษาพบความหลากชนิดของแมลงในดินในพื้นที่ทั้งหมดพบแมลงทั้งหมด 11 อันดับ 24 วงศ 37
              สกุล 43 ชนิด โครงสรางความหลากหลายของแมลง พบวาคาดัชนีความหลากหลายในปาดิบแลงชวงฤดูแลงมี
              คาสูงสุด คือ 2.44 และพื้นที่โซน C ชวงฤดูแลง มีคานอยที่สุด คือ 0.86 สวนคาความคลายคลึง พบวา คาดัชนี
              ความคลายคลึงของแมลงระหวางฤดูฝนและฤดูแลงในแตละพื้นที่มีคาใกลเคียงรอยละ 60 แสดงถึงการปรับตัว
              ของแมลงไดทั้งสองฤดู  และความหนาแนนของแมลง  พบวา  ปาดิบแลงมีคาความหนาแนนชวงฤดูฝนของแมลง

              สูงสุดคือ 2,850 ตัวตอตารางเมตร  และองคประกอบของชนิดแมลงในแตละพื้นที่จัดเปนแมลงพวกผูยอยสลายซึ่ง
              ชนิดแมลงที่เดนในแตละพื้นที่  ไดแก  แมลงกลุมมด  ดวงดิน  และปลวก  ซึ่งถือวามีบทบาทตอโครงสรางของดิน
              เปนอยางมาก และสงผลโดยตรงตอความสําเร็จของการฟนฟูพื้นที่เหมืองอีกดวย

              คําสําคัญ: ประชากรแมลง  การฟนฟูบูรณะผลผลิตใหม  พื้นที่เหมืองหินปูน



                               คํานํา                      ของพื้นที่เปนหลัก  ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้เพื่อศึกษา
                                                           ถึงความหลากชนิดและถิ่นการกระจายของแมลงรวม
                     แรหินปูนเปนแรที่สําคัญชนิดหนึ่งซึ่งพบใน  ทั้งความหนาแนนของประชากรแมลงในพื้นที่เหมือง
              พื้นที่ภูเขาหินปูนซึ่งเปนแหลงพื้นที่ปาไมที่สําคัญของ  หินปูนภายหลังทําการฟนฟูบูรณะผลผลิตใหมและ
              ประเทศไทย ซึ่งทรัพยากรแรมีความสําคัญตอ     ศึกษาการแปรผันของประชากรแมลงในแตละชวง
              การพัฒนาประเทศ  เปนปจจัยพื้นฐานในการพัฒนา  ฤดูกาลของแตละพื้นที่ทําการศึกษา ตลอดทั้งนําขอมูล
              เศรษฐกิจ โดยเปนปจจัยสําคัญสําหรับการพัฒนา  ที่ไดมาประเมินสถานภาพของแมลงเพื่อนําไปสูการ
              โครงสรางพื้นฐานของประเทศ อยางไรก็ดี ผลจาก  วางแผนหาแนวทางเพื่อจัดการทรัพยากรธรรมชาติใน
              การนําทรัพยากรเหลานี้มาใชประโยชน นอกเหนือ  พื้นที่อยางยั่งยืนตอไป

              จากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศที่
              เกิดขึ้นแลว  ยังกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม      อุปกรณและวิธีการ
              และทรัพยากรธรรมชาติในบริเวณใกลเคียงอยางหลีก
              เลี่ยงไมได อันเปนผลใหเกิดปญหาตางๆ ตามมา เชน      การศึกษาครั้งนี้ไดดําเนินการศึกษาบริเวณ
              ปญหาความเสื่อมโทรมของปาไม ปญหาจากการ     พื้นที่เหมืองหินปูนของบริษัทปูนซิเมนตไทย (แกงคอย)
              กรอนของดิน เปนตน ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะ  จํากัด อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี ระหวางเดือน
              ตองมีมาตรการในการแกไขผลกระทบ  และการฟนฟู  กุมภาพันธ-กันยายน พ.ศ. 2552 โดยศึกษาในพื้นที่ปลูก
              สภาพแวดลอมภายหลังการทําเหมือง เพื่อสรางสมดุล  ฟนฟูโซน C (สภาพพื้นที่บริเวณแปลงทดลองนี้ผานการ

              ของการพัฒนาดานเศรษฐกิจ  สังคม  และสิ่งแวดลอม   ทําเหมืองหินปูนมาแลว พื้นที่ปลูกเปนดินดาน การเตรียม
              โดยการศึกษาในครั้งนี้ไดทําการศึกษาถึงความสมดุล  พื้นที่ทําโดยเอาดินมาถมหนา 30 เซนติเมตร (ซึ่งเปนดิน
              ในกรณีของสัตวขนาดเล็กโดยมุงเนน แมลงในดิน   และหินทิ้งจากการทําเหมืองนํามาใชในการรองพื้น)
              ที่เปนตัวชวยในการยอยสลายเศษซากอินทรียวัตถุซึ่ง  โดยมีไมทดลอง 12 ชนิด) พื้นที่ปลูกฟนฟูโซน A  (พื้นที่
              เปนการเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินในปาใหดียิ่ง  สวนใหญเปนหินดินดาน มีขนาดเนื้อที่ประมาณ 6 ไร่
              ขึ้นและมีความสําคัญตอการฟนฟูบูรณะผลผลิตใหม  ในพื้นที่มีการนําพืชชนิดตางๆ เชน หญารูซี่
   1   2   3   4   5   6   7   8   9