Page 5 -
P. 5

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                        วารสารวนศาสตร 31 (1) : 1-9 (2555)                        3
                                                       ์



              (Bachiaria ruziziensis) หญาโรด (Chioris gayana)   มาตรฐานสากล เพื่อสะดวกในการจัดจําแนกออกเปน
              ถั่วไมยรา (Desmanthus virgatus) และถั่วฮามาตา   อันดับ (order) วงศ (family) และสกุล (genera) หลัง
              (Stylosanthes hamata) มาทดลองปลูกคลุมดินในพื้นที่  จากนั้นจะนําผลไปใชในการวิเคราะหขั้นตอไป
              เพื่อชวยรักษาความชุมชื้นของดินในชวงฤดูแลง และ

              ทําการปลูกทดลองไม 13 ชนิด คละกันไปในแปลง    การวิเคราะหขอมูล
              ชนิดละประมาณ 14 ตนตอแปลงโดยใชระยะปลูก            จากขอมูลแมลงที่ไดจากการจําแนกใน
              2×2 เมตร พื้นที่เคยฟนฟูมากอน (เปนพื้นที่ที่ทําการ  แตละพื้นที่ทําการศึกษา คํานวณหาคาการปรากฏ
              ฟนฟูเมื่อป พ.ศ. 2540 โดยใชวิธีการหวานเมล็ด ไม  ของแมลง คาความหนาแนน ความหนาแนนสัมพัทธ
              เนนการบํารุงรักษาภายในพื้นที่) ปาดิบแลง และปา  ความมากมาย ความมากมายสัมพัทธ และทําการ

              ผสมผลัดใบ ดําเนินการเก็บขอมูลดังนี้         วิเคราะหดัชนีความหลากหลาย คาดัชนีความสมํ่าเสมอ
                                                           โดยการใชสมการของ Shannon–Wiener’sIndex และ
              การเก็บขอมูลภาคสนาม                         คาดัชนีความคลายคลึงโดยคํานวณไดจาก สมการของ
                     วางแปลงขนาด 10×10 ตารางเมตร จํานวน    Sorensen ดวยโปรแกรม Species Diversity and Rich-
              3 แปลง ในแตละพื้นที่ใหครบทั้ง 5 พื้นที่ และภายใน  ness เวอรชั่น 5
              แปลงดังกลาวทําการแบงยอยออกเปน 10 แปลง
              (ขนาด 5x2  เมตร)  พรอมทั้งวางแปลงแบบสุมขนาด            ผลและวิจารณ

              1×1 เมตร ใหครบทั้ง 10 แปลง เพื่อเก็บตัวอยางซาก
              พืช และสุดทายวางแปลงแบบสุมขนาด 20 x 20     ความหลากชนิดของชนิดแมลง
              เซนติเมตร ขุดดินลึก 10 เซนติเมตร ทั้งสิ้น 10 แปลง      จากการศึกษาพบแมลงทั้งหมด 11  อันดับ
              ภายในแปลงขนาด 1×1 เมตรใหครบทั้ง 10 แปลง     24 วงศ 37 สกุล 43 ชนิด โดยพบวาแมลงในอันดับ

              เพื่อเก็บตัวอยางแมลงในดิน และวางแปลงตัวอยาง  Hymenoptera ซึ่งอยูในวงศ Formicidae พบชนิดและ
              ลักษณะเดิมในพื้นที่เดียวกันในฤดูกาลตอไป  จากนั้น  จํานวนตัวมากที่สุด เปนจํานวน 12 สกุล 17 ชนิด รอง
              ทําการคัดแยกตัวอยางแมลงโดยใชปากคีบจับแมลง  ลงมาไดแก แมลงในอันดับ Coleoptera ซึ่งอยูในวงศ
              ใสในขวดเก็บตัวอยาง  พรอมทั้งเก็บขอมูลปจจัยทาง  Carabidae พบจํานวน 5 สกุล 5 ชนิด ตามลําดับ ซึ่ง
              กายภาพที่สําคัญไดแก ความชื้นในดิน (soil moisture)   สอดคลองกับ Holl Dobler and Wilson (1990) พบวา
              โดยทําการเก็บตัวอยางดินโดยใช soil core เก็บที่  มดอาศัยอยูตามพื้นดินทุกหนทุกแหงทั่วโลก  มดบาง

              ระดับความลึก 0-5  เซนติเมตร  วัดอุณหภูมิดิน (soil   ชนิดสามารถปรับตัวไดดีเมื่อถิ่นอาศัยถูกรบกวนได
              temperature)โดยใชเทอรโมมิเตอรปกลงในดินที่  อยางรวดเร็ว สําหรับ แมลงพวกดวงในวงศ Carabidae
              ระดับความลึก 10 เซนติเมตร ทิ้งไวประมาณ 5 นาที   นั้นเปนวงศที่พบรองลงมาจากวงศ Formicidae  จาก
              บันทึกคาของอุณหภูมิที่ได ณ ขณะนั้น และมวล  การศึกษาของ Ahlgren (1974) พบวาจํานวนแมลงปก
              ชีวภาพ (biomass) ของซากพืช โดยนําตัวอยางซากพืช  แข็งลดลงมากหลังจากพื้นที่ถูกไฟไหมในชวง 3 เดือน

              ที่ไดมาชั่งนํ้าหนักสดหลังจากนั้นนําไปอบที่อุณหภูมิ   แรก แตยังพบวงศ Carabidae ชอบอาศัยอยูบริเวณที่มี
              80 องศาเซลเซียส เปนเวลา 3 วัน นํามาชั่งนํ้าหนัก  ความชื้น  ซึ่งแมลงที่พบนั้นเมื่อนํามาจําแนกแลว  พบ
              แหงเพื่อคํานวณหามวลชีวภาพของซากพืช  หลังจาก  วาสามารถแยกออกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ
              นั้นนําแมลงที่แยกไวแลวจัดรูปรางใหอยูในแบบ  ผูบริโภคกับผูยอยสลาย แตสําหรับแมลงที่พบเปน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10