Page 7 -
P. 7

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


             J. of Soc Sci & Hum. 41(2): 1-18 (2015)            ว. สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 41(2): 1-18 (2558)



                            กรอบการวิเคราะห์การเมืองแบบกลุ่มผลประโยชน์:

                           พัฒนาการ ข้อถกเถียง และสถานภาพการศึกษาวิจัย

                        (Interest Group Political Framework of Analysis:

                         Development, Debate and Frontier of Research)


                                                           รองศาสตราจารย์ ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่ง*
                                                            Assoc. Prof. Dr. Prapart Pintobtang




                                                  บทคัดย่อ


                      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอให้เห็นจุดเน้นสำคัญของการวิเคราะห์การเมืองแบบกลุ่มผล
             ประโยชน์และกลุ่มผลักดัน  พัฒนาการและข้อถกเถียง  และสถานภาพด้านการศึกษาวิจัย  โดยเฉพาะข้อ
             สังเกตเกี่ยวประเด็นหรือหัวข้อการทำวิทยานิพนธ์ รวมทั้งข้อเสนอบางประการสำหรับการพัฒนากรอบการ
             วิเคราะห์และประเด็นที่ควรศึกษาวิจัยในแง่มุมใหม่ๆ

             ความสำคัญ: กลุ่มผลประโยชน์, กลุ่มผลักดัน, ขบวนการทางสังคม, ยุทธวิธีการเคลื่อนไหว, ผลสะเทือน

                                                  Abstract


                      This  article  aims  to  present  the  development,  controversies,  state  of

             knowledge and focal points of the political analysis on interest group and pressure
             groups.  This  article   provides   some  discussion   on  research  topics  as  well  as
             suggestions to develop analytical methods. and to new research topics.
             Keywords:  interest  groups,  pressure  groups,  social  movements,  tactic  and  strategy,
             Impacts


             1.พัฒนาการกรอบการวิเคราะห์การเมืองแบบกลุ่มผลักดัน
                      กรอบการวิเคราะห์การเมืองแบบกลุ่มผลประโยชน์หรือกลุ่มผลักดันเป็นแนวทางการศึกษา

             สำคัญแนวทางหนึ่ง  แนวคิดกลุ่มอธิบายว่าบทบาทหน้าที่และกิจกรรมทั้งหลายของกลุ่มภายในสังคมมี



             * รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
               Assoc.Prof. Dr. Department of Government, Faculty of Political Science. Chulalongkorn University
               Corresponding author, e-mail : prapart.p@gmail.com
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12