Page 79 -
P. 79

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


          68       Humanities Journal Vol.21, No.1 (January-June 2014)

          อันตรายจากยักษ์ โจร และนักเลงผู้หญิงระหว่างเดินทางผู้เดียว หรือในสุรัพภชาดก
                              ั
                                                  ั
          มีนิทานเรื่อง “นางสนมมีปญญา” กล่าวถึงนางสนมมีปญญาเล่านิทานเกลี้ยกล่อม
          พระราชาผู้ดุร้ายไม่ให้สั่งประหารตนได้ส าเร็จ

                                  ั
                       แนวคิดเรื่องปญญาในวรรณคดีชาดกเหล่านี้มีจุดร่วมกันว่า การ
             ั
          ใช้ปญญาจะช่วยให้รอดพ้นจากอันตรายและได้รับประโยชน์ต่างๆ ทั้งทรัพย์สินเงิน
                                                          ั
          ทองและเกียรติยศชื่อเสียง แต่ก็เน้นย ้าด้วยว่าต้องเป็นการใช้ปญญาด้วยความ
                           ั
          สุจริต หากเป็นการใช้ปญญาเพื่อฉ้อฉลหรือคุกคามผู้อื่น ย่อมเกิดผลร้ายแก่ตน ดัง
          ในศรีวิชัยชาดก มีนิทานซ้อนเรื่อง “สุนัขจิ้งจอกมีมนต์” กล่าวถึงสุนัขจิ้งจอก
          ทระนงว่าตนได้มนต์จากฤๅษี จึงน าบรรดาสัตว์ทั้งหลายไปรบกับมนุษย์ สุดท้าย
                                        ั
          พ่ายแพ้ถึงแก่ความตายทั้งหมด การใช้ปญญาจึงต้องมีสติก ากับไม่ให้ใช้ไปในทาง
          ที่ผิดด้วย

                   1.2  หลักธรรมเรื่องการคบคน
                       การเลือกคบคนทั้งในฐานะมิตรสหาย คู่ครอง เจ้านาย หรือ
          บริวารเป็นสิ่งที่ต้องพิจารณาให้รอบคอบ ด้วยเหตุว่าบุคคลเหล่านี้มีส่วนชักน าไป
          ในทางที่ดีหรือร้ายก็ได้ หลักธรรมนี้น าเสนอทั้งเรื่องโทษของการคบคนพาลและคุณ
          ของการคบบัณฑิต ปรากฏเป็นแนวคิดหลักในเรื่องทุกัมมานิกชาดก และปทุม

          ชาดกว่าด้วยกลแห่งสตรี และเป็นแนวคิดรองในเรื่องสุรัพภชาดก ธนัญชัย
          บัณฑิตชาดก และศรีวิชัยชาดก

                       เรื่องโทษของการคบคนพาลเน้นย ้าว่าการคบคนพาลมีแต่ท าให้
          เกิดภัยขึ้นแก่ตนเอง ตัวละครคนพาลที่ปรากฏจ าแนกได้เป็น 2 กลุ่มคือ คนพาลที่
          ไม่รอบคอบและหญิงร้าย

                       คนพาลที่ไม่รอบคอบมีทั้งที่เป็นเจ้านายและบริวาร คนกลุ่มนี้มัก
          ท าการสิ่งใดไม่ไตร่ตรองให้ถี่ถ้วน หากเป็นบริวารก็อาจท าให้การงานเสียหาย ดัง
          ในเรื่องทุกัมมานิกชาดก ซึ่งแสดงโทษของการรับใช้คนพาล พระโพธิสัตว์ถูก

          พระราชาผู้ขาดความรอบคอบสั่งลงโทษ แต่มีผู้เล่านิทานเกลี้ยกล่อมพระราชา
          พระโพธิสัตว์จึงรอดชีวิต นิทานซ้อนที่เล่านั้นช่วยแสดงโทษของการรับใช้เจ้านายที่
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84