Page 75 -
P. 75
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
64 Humanities Journal Vol.21, No.1 (January-June 2014)
ั
จะเห็นได้ว่าแนวคิดเรื่องปญญาเป็นแนวคิดส าคัญที่วรรณคดีกลุ่มนี้มี
ั
ร่วมกัน ทั้งในแง่ที่แสดงให้เห็นพระโพธิสัตว์เป็นผู้มีปญญายิ่ง และแสดงให้เห็นคุณ
ั
ั
ของปญญาที่ใช้ในการแก้ปญหาด้วย อย่างไรก็ดี แนวคิดเหล่านี้ไม่สามารถน าเสนอ
่
ให้ชัดเจนผ่านนิทานหลักฝายเดียว แต่ต้องใช้นิทานซ้อนสนับสนุนเพื่อเน้นย ้าและ
ขยายความค าสอนให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
เมื่อพิจารณานิทานซ้อนเรื่องต่างๆ ประกอบ ผู้วิจัยพบว่าแนวคิดของ
นิทานซ้อนส่วนใหญ่สอดคล้องกับแนวคิดของนิทานหลัก ดังจะประมวลแนวคิด
ของทั้งนิทานหลักและนิทานซ้อนมาน าเสนอเปรียบเทียบในรูปแบบตารางเพื่อให้
เห็นชัดเจน ดังนี้
แนวคิดของนิทานซ้อน
แนวคิดของ
เรื่อง นิทานที่ซ้อน นิทานที่ซ้อน นิทานที่ซ้อน
นิทานหลัก
ในต้นเรื่อง ในกลางเรื่อง ในท้ายเรื่อง
สรรพสิทธิ พระโพธิสัตว์ นิทานซ้อน 3 เรื่อง
ั
ชาดก เป็นผู้มีปญญา - - ว่าด้วยโทษของกาม
ในการแก้ไข ราคะที่น าภัยมาสู่หมู่
บททดสอบ คณะ
ทุกัมมา การคบคนพาล นิทานซ้อน 4 เรื่อง
นิกชาดก ย่อมท าให้เกิด - - ว่าด้วยโทษของการ
ภัยแก่ตนเอง รับใช้เจ้านายผู้ไม่
รอบคอบ
สุรัพภ พระโพธิสัตว์ นิทานซ้อน 4
ั
ชาดก เป็นผู้มีปญญา เรื่อง ว่าด้วย
ในการสอน โทษของการคบ
- -
คนพาลและ
คุณของการคบ
บัณฑิต