Page 78 -
P. 78

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                     วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม- มิถุนายน 2557)   67

                       จากตารางข้างต้น จะเห็นได้ว่ามีความเชื่อมโยงกันระหว่างแนวคิดของ
                นิทานหลักกับนิทานซ้อน นิทานซ้อนในวรรณคดีชาดกบางเรื่องจะช่วยเสริมให้
                แนวคิดของนิทานหลักชัดเจนขึ้น เช่น ทุกัมมานิกชาดกมุ่งเสนอแนวคิดเรื่องโทษ

                ของการคบคนพาล แนวคิดในนิทานซ้อนได้ช่วยจ าเพาะเจาะจงว่าคนพาลที่
                ต้องการเน้นคือ ผู้ปกครองที่ขาดความรอบคอบ ส่วนวรรณคดีชาดกบางเรื่องตั้ง
                แนวคิดไว้กว้างๆ เพื่อเปิดโอกาสให้น าเสนอแนวคิดรองได้หลายชุด เช่น ธนัญชัย
                                   ั
                บัณฑิตชาดกมุ่งแสดงปญญาบารมีของพระโพธิสัตว์ในการสั่งสอน นิทานซ้อนที่
                เล่าจึงสามารถน าเสนอแนวคิดได้หลายชุด เป็นการช่วยเน้นย ้าว่าพระโพธิสัตว์ทรง

                รู้ค าสอนมากไปด้วย ทั้งนี้สามารถประมวลแนวคิดที่น าเสนอผ่านการซ้อนนิทาน
                ทั้งหมดจ าแนกได้เป็น 2 กลุ่มคือ ค าสอนที่เป็นหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และ
                            ั
                ค าสอนที่แสดงปญญาบารมีของพระโพธิสัตว์ มีรายละเอียดดังนี้

                       1.  ค าสอนที่เป็นหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
                         หลักธรรมที่น าเสนอในวรรณคดีชาดกกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นหลักธรรม

                ขั้นพื้นฐานที่มุ่งประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน ปรากฏอยู่ทั่วไปในพระสูตรและชาดก
                เรื่องต่างๆ รวมถึงวรรณคดีค าสอนอื่นๆ ของไทยด้วย จ าแนกได้เป็น 4 เรื่องคือ
                             ั
                หลักธรรมเรื่องปญญา หลักธรรมเรื่องการคบคน หลักธรรมเรื่องกรรมวิบาก และ
                หลักธรรมเรื่องการบ าเพ็ญจิต มีรายละเอียดดังนี้

                         1.1  หลักธรรมเรื่องปัญญา
                                                                         ั
                                          ั
                                                                 ั
                             หลักธรรมเรื่องปญญาที่ปรากฏมุ่งน าเสนอว่าปญญาเป็นปจจัย
                                                                       ั
                ส าคัญที่ช่วยให้มนุษย์เอาชนะอุปสรรคต่างๆ ได้ โดยให้ความส าคัญแก่ปญญาที่
                เป็นวิชาความรู้ทางโลก ใช้สร้างประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น หลักธรรมเรื่องนี้เป็น
                ค าสอนที่ปรากฏมากที่สุด ปรากฏในเรื่อง สรรพสิทธิชาดก สุรัพภชาดก ศรีวิชัย
                ชาดก ธนัญชัยชาดก ลิลิตศรีวิชัยชาดก นกกระจาบกลอนสวด และสรรพสิทธิ์
                ค าฉันท์


                                                       ั
                             ตัวอย่างการแสดงหลักธรรมเรื่องปญญามีในลิลิตศรีวิชัยชาดก
                                      ั
                                                                ั
                มีนิทานซ้อนเรื่อง “สตรีมีปญญา” กล่าวถึงสตรีนางหนึ่งใช้ปญญาหลีกเลี่ยง
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83