Page 52 -
P. 52

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                    ปที่ 19 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555)   41


                       อยางไรก็ตาม งานวิจัยนี้เปนเพียงการศึกษาขอมูลภาษาจากคลังขอมูลที่
                มีการรวบรวมไวเทานั้น หากมีการศึกษาอุปลักษณของคําวา “กิเลส”ในปริจเฉท
                อื่นๆ เชน ในหนังสือธรรมะ หรือ การสนทนาในชีวิตประจําวัน จะชวยยืนยัน
                ผลการวิจัยและอาจจะทําใหเห็นระบบวิธีคิด รวมถึงมุมมองตางๆ ที่สะทอนจากการ
                ใชอุปลักษณเชิงมโนทัศนของคนไทยมากยิ่งขึ้น

                                         บรรณานุกรม


                ทองใบ อมโร, เจาอธิการ. 2553. การศึกษาหลักธรรมที่นําไปปฏิบัติเพื่อการ
                       หลุดพนกิเลสในพระพุทธศาสนาเถรวาท. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต
                       สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
                ธีระพล สุขแสง, พระมหา. 2546. การศึกษาคําสอนเรื่องกิเลสในพุทธศาสนา

                       เถรวาท. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา
                       มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
                ปยภรณ อบแพทย. 2542. อุปลักษณเกี่ยวกับชีวิตในหนังสือธรรมะ.

                       วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
                       จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
                พุทธทาสภิกขุ. 2550. รูทันเลหกิเลส. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อมรินทร.
                รัชนียญา กลิ่นน้ําหอม และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. 2551. “การเมืองคือการรักษาโรค:
                       มโนอุปลักษณที่สะทอนจากถอยคําอุปลักษณของนักการเมืองไทย.”
                       วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 25 (ธันวาคม): 132-157.

                Kövecses, Z. 2002. METAPHOR: A Practical introduction. New York: Oxford
                       University Press.
                Lakoff, G. and M. Johnson. 1980. Metaphors We Live By. Chicago and

                       London: The University of Chicago Press.
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57