Page 54 -
P. 54

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                    ปที่ 19 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555)   43

                Abstract
                       Initially, this paper aims to expose the faults and weaknesses of the

                often cited Buddha’s Prophecy “Brahmacarya will not last long”, which appears
                in the Tipitaka, as one argument against bhikkhuni ordination in Thai society.
                Basically, there are two groups-the pro-bhikkhuni group and the anti-bhikkhuni
                group. The anti-bhikkhuni group does not agree with the ordination of
                bhikkhunis and claims the prophecy to be genuine. The opposing group, the
                pro-bhikkhuni group, supports the ordination of bhikkhunis and claims the

                prophecy to be ungenuine. Moreover, I propose a new understanding of this
                contested passage. With this new view, the Buddha’s word will be understood
                as a warning. Therefore, even though the prophecy is genuine it can no longer
                be used by the anti-bhikkhuni group in their argument against bhikkhuni
                ordination.


                Keywords: Buddha’s prophecy; Tripitaka; Bhikkhuni

                บทนํา
                       เมื่อกลาวถึงปญหาเรื่องการบวชภิกษุณีในสังคมพุทธแบบไทยที่นับถือ

                นิกายเถรวาทเปนกระแสหลัก เราจะพบวามีทัศนะที่มีตอปญหานี้แบงออกเปน 2 ฝาย
                คือ ฝายที่สนับสนุนที่จะใหมีการบวชภิกษุณี และอีกฝายที่ไมเห็นดวยที่จะใหมีการ
                บวชภิกษุณี แลวหากถามตอไปถึงเหตุผลที่ทั้งสองฝายหยิบยกขึ้นมาเปนหลักฐาน
                หรือขออางเพื่อสนับสนุนทัศนะของตน ขออางหนึ่งในจํานวนหลายๆ ขออางที่เรา
                มักจะไดยินอยูบอยครั้งคือ ขออางเรื่องพุทธทํานายที่วาถาหากผูหญิงไดบวชเปน
                ภิกษุณีแลวจะทําใหอายุของพุทธศาสนาสั้นลง พุทธทํานายเรื่อง “พรหมจรรยไม

                ตั้งอยูนาน”  ที่วานี้มีปรากฏอยูในพระวินัยปฎก เลาวาครั้งนั้นพระพุทธองคมีพระดํารัส
                กับพระอานนท ความวา
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59