Page 145 -
P. 145

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


          134  วารสารมนุษยศาสตร์

          แต่ด้วยตัวพิมพ์นี้มีเซอริฟช่วยให้เข้าใจได้ง่ายกว่า จึงมีแนวโน้มจะอ่านออก
          มากกว่าตัวพิมพ์ทั้งสองแบบที่กล่าวมาข้างต้น












           ภาพที่ 21 เปรียบเทียบความสับสนที่เกิดขึ้นจากการใช้แบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมัน
                        โดยการพิมพ์ค าว่า “นัสนันท์” เป็นภาษาอังกฤษ

                 นอกจากนี้ การน าตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมันไปใช้แทนตัวเนื้อหานั้นจะท า

          ให้อ่านยากขึ้น ท าให้อ่านได้ช้าลง ผู้อ่านต้องเพ่งสายตามากกว่าปกติ ท าให้สายตา
          เหนื่อยล้าได้ง่าย อีกทั้งยังท าให้การอ่านติดขัด สะดุด และผู้อ่านจะวกกลับมาอ่าน
          ซ้ าเพราะไม่แน่ใจ แม้ว่าผู้อ่านจะมีความช านาญในการอ่านมากก็ตาม หากเจอค าที่
          แปลกออกไปจากความคุ้นเคยก็อาจท าให้สับสนและเข้าใจผิดได้

                 อย่างไรก็ตาม ในสภาวะการน าไปใช้งานจริงของตัวพิมพ์ไทยเสมือน
          โรมัน หากมีบริบทช่วยในการอ่านก็ท าให้สามารถอ่านเข้าใจเนื้อหาสาระของ

          บทความได้ เนื่องจากมีปัจจัยช่วยท าให้อ่านออก ได้แก่ 1) การคุ้นชินกับรูปค า 2)
          เนื้อหาบริบทและกลุ่มผู้อ่าน

                 “การคุ้นชิ้นกับรูปค า” รากฐานการอ่านของมนุษย์นั้นจะเริ่มจากการ
          เรียนรู้และจดจ าตัวอักษรแต่ละตัวให้ได้ แล้วจึงพัฒนาทักษะการสะกดค าและอ่าน
          จากนั้นจึงเป็นการจดจ ารูปค าให้ได้โดยไม่ต้องสะกดค า รูปค าที่พบเห็นหรืออ่าน

          บ่อยจึงถูกจดจ าทั้งลักษณะทางกายภาพและความหมายได้โดยอัตโนมัติ
          เว้นเสียแต่ว่าหากเจอค าที่มีรูปค าที่ใกล้เคียงกันอาจท าให้เกิดการสะดุดในการอ่าน
          หรือเข้าใจผิดเป็นค าอื่นได้ในกรณีที่ขนาดตัวพิมพ์เล็กเกินไปหรือมีที่ว่างระหว่าง
          ตัวอักษร (tracking) น้อยเกินไป
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150