Page 144 -
P. 144

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                         ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555)  133

                       ไม่เพียงการพิมพ์ค าไทยโดยใช้ตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมันที่ไปสับสนกับ
                ภาษาอังกฤษแล้ว แต่ยังท าให้ค าภาษาอังกฤษสับสนเป็นภาษาไทยได้อีกด้วย ใน
                ตัวอย่างเป็นความสับสนของตัวอักษรพิมพ์เล็ก (lowercase) “nu, un, su, และ us”

                ซึ่งหากพิมพ์ตัวอักษรด้วยแบบตัวพิมพ์โรมันมาตรฐานอย่าง Times New Roman
                ก็สามารถอ่านได้ตามอักษรจริง แต่หากลองปรับไปใช้แบบตัวพิมพ์อื่นอาจพบ
                ปัญหาความสับสนข้ามภาษาขึ้นดังตัวอย่างภาพที่ 19


















                 ภาพที่ 20 เปรียบเทียบความสับสนที่เกิดขึ้นจากการใช้แบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมัน
                                        (กรณีตัวพิมพ์ใหญ่)

                       ในทางกลับกัน หากเปลี่ยนจากตัวพิมพ์เล็กเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ด้วยอักษร
                ชุดเดียวกัน ก็อาจเกิดความสับสนขึ้นมาใหม่ แตกต่างจากเดิม (เปรียบเทียบกับ
                ภาพที่ 19)

                       อีกตัวอย่างหนึ่ง สมมุติพิมพ์ค าเดี่ยวๆ ค าว่า “นัสนันท์” เป็นภาษาอังกฤษ
                “nusnun”  เนื่องจากเจอคู่สับสนทุกตัวอักษรที่ใช้ การเลือกแบบตัวพิมพ์จึงต้อง
                ระมัดระวังเป็นอย่างมาก ในตัวอย่างภาพที่ 21 การเลือกใช้แบบตัวพิมพ์ต่างกันจะ
                เกิดความสับสนขึ้นต่างกัน ถ้าใช้ตัวพิมพ์ DB Quanthong จะท าให้สับสนหรืออ่าน
                เป็น กน-รก-นก หรือ กะ-นอน-กะ-หนก ก็เป็นได้ หรือถ้าใช้ตัวพิมพ์ DB  Sharp
                อาจท าให้สับสนหรืออ่านเป็น ทะ-นอน-ทะ-นด หรือ ทน-รด-นด ก็เป็นได้ แม้แต่ใช้

                ตัวพิมพ์ Times New  Roman  ก็ยังมีแนวโน้มจะอ่านเป็นภาษาไทยได้เหมือนกัน
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149