Page 142 -
P. 142
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555) 131
5
อาจท าให้สับสนและอ่านเป็น “nU” ในกรณีที่ตัว “U” ใช้แบบ Small Capital , ค าว่า
รบ อาจท าให้สับสนและอ่านเป็น SU (Silpakorn University), ค าว่า หน อาจท าให้
สับสนและอ่านเป็น “KU” (Kasetsart University) ในกรณีที่ตัว “ห” ถูกดัดแปลงให้
โน้มเอียงไปทางตัว “K” มากเกินไป น่าแปลกใจว่าทุกค าตรงกับค าย่อของ
มหาวิทยาลัยทั้งหมด หากมีการแข่งกีฬาระหว่างมหาวิทยาลัยขึ้น แล้วผู้ออกแบบ
โดยไม่ทันคิดและบังเอิญเลือกใช้แบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมัน คงเกิดสับสนไม่
น้อยต่อผู้อ่าน
ภาพที่ 17 เปรียบเทียบค าย่อ พ.ร.บ. โดยการใช้แบบตัวพิมพ์ต่างๆ กัน
ตัวอย่าง ค าว่า พ.ร.บ. ในภาพที่ 17 ที่ใช้แบบตัวพิมพ์ต่างกัน ท าให้เข้าใจ
ต่างกันได้ การใช้แบบตัวพิมพ์ไทยมาตรฐานแบบมีหัว จึงสามารถรับประกันประ
จักษภาพและการอ่านเข้าใจได้มากที่สุด
5
Small Capital คือ ชุดอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ชุดพิเศษที่มีขนาดความสูงเท่ากับ
ตัวพิมพ์เล็ก (เท่ากับความสูงเอ็กซ์ [x-height])