Page 149 -
P. 149
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
138 วารสารมนุษยศาสตร์
ตัวพิมพ์ที่มีเส้นหนามากเกินไป รวมถึงมีการใช้ตัวอักษรแบบเจาะขาวบนพื้นเข้ม
(reverse type) ซึ่งจะท าให้รู้สึกว่าตัวอักษรดูหนาขึ้น เนื่องจากเกิดการลวงตา
ทั้งหมดล้วนมีผลระทบต่อประจักษภาพและการอ่านเข้าใจแทบทั้งสิ้น
ภาพที่ 24 การใช้แบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมันแทนตัวเนื้อหา
ในนิตยสารด้านการออกแบบของต่างประเทศ (ฉบับภาคภาษาไทย) ฉบับหนึ่ง
การแสดงข้อมูลทางโภชนาการของ
บรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มน้ าผักผลไม้ยี่ห้อหนึ่ง
(ภาพที่ 25) ซึ่งเป็นการใช้แบบตัวพิมพ์ไทย
เสมือนโรมันชนิดแซนเซอริฟในขนาดเล็กมาก
ท าให้อ่านยากและไม่น่าอ่าน ความจริงการ
แสดงข้อมูลทางโภชนาการนี้ กฎหมายได้
บังคับให้ผู้ผลิตสินค้าต้องแสดงรายละเอียด
เหล่านี้ แต่ไม่ได้มีการก าหนดรูปแบบหรือ
ลักษณะการออกแบบจัดวางตัวอักษร
(typographic design) ที่เหมาะกับการอ่านของ
ภาพที่ 25 การใช้แบบตัวพิมพ์ไทย ผู้บริโภคซึ่งมีความหลากหลายและแตกต่างกัน
เสมือนโรมันบนกราฟิกบรรจุภัณฑ์ ทั้งในแง่ของปัญหาทางสายตา, ทักษะการอ่าน,
เครื่องดื่มน้ าผักผลไม้ยี่ห้อหนึ่ง และอื่นๆ