Page 104 -
P. 104

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                                           93

                     5. ช่วงเดือนที่พบกระทิงออกนอกพื้นที่มากที่สุดในคือช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน ระหว่าง 693–2,124
               ตัว ขณะที่ช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม พบกระทิงระหว่าง 128–348 ตัว โดยบริเวณที่พบว่ากระทิงออกมาหา
               กินบ่อยมากกว่า 10 ครั้ง มี 8 แห่ง และที่น้อยกว่า 10 ครั้ง มี 13 แห่ง บริเวณที่กระทิงออกมาหากินพบใน 4 พื้นที่
               หลัก ได้แก่ บ้านเขาแผงม้า บ้านคลองทราย บ้านโพธิ์ทองพัฒนาและบริเวณเขาสี่กุมาร ในต าบลวังน้ าเขียว อ าเภอวัง
               น้ าเขียว จังหวัดนครราชสีมา

                     6. พบว่ากระทิงในบริเวณเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาแผงม้าต้องการใช้พื้นที่บริเวณที่เป็นทุ่งหญ้า พื้นที่บริเวณโป่ง
               และในป่าธรรมชาติ จากมากไปน้อยตามล าดับ

                                                       ข้อเสนอแนะ

                     1. ควรมีการศึกษาพืชอาหาร ความสามารถในการรองรับประชากรของกระทิงบริเวณเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาแผง

               ม้า เพื่อให้สามารถรองรับจ านวนประชากรของกระทิงในพื้นที่อย่างเพียงพอ ตลอดจนการปรับปรุงถิ่นอาศัยภายใน
               พื้นที่อนุรักษ์ในบริเวณอื่น เพื่อให้กระทิงอาศัยอยู่ในพื้นที่อย่างปลอดภัย
                     2. ควรมีการติดตามศึกษาการเคลื่อนที่ ขนาดพื้นที่อาศัยของกระทิงโดยการติดวิทยุติดตามตัวเพื่อให้ทราบ
               ความต้องการใช้พื้นที่อาศัย ปัจจัยคุกคาม
                     3. ควรมีการศึกษาความสัมพันธ์ของกระทิงกับสัตว์ป่าชนิดอื่น โดยเฉพาะสัตว์กินเนื้อ ตลอดจนสัตว์ป่าที่เป็นคู่
               แข่งขัน ด้วยกล้องดักถ่ายภาพ สาเหตุการตายและปัจจัยคุกคามอย่างต่อเนื่องต่อไป
                     4. การพบว่ากระทิงออกมานอกพื้นที่ช่วงต้นปี จึงควรหาแนวทางในการป้องกันพื้นที่เกษตรกรรม การปรับปรุง

               ถิ่นอาศัยภายในโดยเฉพาะพืชอาหารในทุ่งหญ้า แหล่งน้ า แหล่งโป่ง เพื่อลดการออกมานอกพื้นที่
                     5. การจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างคนกับกระทิงสามารถด าเนินการโดยมุ่งเน้นพื้นที่ที่พบว่ากระทิง
               ออกมามาก ได้แก่บ้านเขาแผงม้า บ้านคลองทราย บ้านโพธิ์ทองพัฒนา เป็นต้น การพิจารณาประกาศพื้นที่ที่ยังคงเป็น
               หย่อมป่าให้เป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่า การจัดการพื้นที่เกษตรกรรมหรือพื้นที่บางแห่งที่ไม่เหมาะสม มีความลาดชันสูงให้
               กลับมาเป็นพื้นที่อนุรักษ์ การสร้างเส้นทางเชื่อมต่อหย่อมป่า การประกาศให้เป็นพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์กระทิง ตลอดจน
               การประชาสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง
                     6. ควรมีการศึกษาด้านโรค และพันธุกรรมของกระทิงเพื่อพิจารณาถึงโอกาสที่จะเกิดการระบาดของโรคจากปศุ
               สัตว์ สู่สัตว์ป่า ตลอดจนความหลากหลายทางพันธุกรรมเพื่อเป็นต้นแบบส าหรับการอนุรักษ์กระทิงต่อไป


                                                      REFERENCES

               Ashokkumar, M., S. Swaminathan, R. Nagarajan & A.A Desai. 2011. Distribution, ecology and
                  conservation of the Gaur (Bos gaurus H. Smith, 1824). Animal Diversity, Natural History and

                  Conservation 1: 77–94.
               Barnes, R.F. & K.L. Jensen. 1987. How to count elephant in forests. African Elephant and Rhino
                  Specialist Group Technical Bulletin 1: 1–16.
               Bhumpakphan, N. 1997. Ecological characteristics and habitat utilization of Gaur (Bos gaurus H.
                  Smith) in different climatic sites. PhD Dissertation, Kasetsart University, Bangkok.
               Bhumpakphan, N. 2000. Wildlife Management. Department of Forest Biology, Kasetsart University,
                  Bangkok [in Thai].









               วารสารสัตว์ป่าเมืองไทย ปีที่ 24 พ.ศ. 2560                  Journal of Wildlife in Thailand Vol. 24, 2017
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109