Page 66 -
P. 66
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
1
บทน�า
ธรรมชาติของดินนามีการเปลี่ยนสลับกัน ระหว่างสภาพน�้าขังและสภาพดินแห้ง ซึ่งเป็นการ
เปลี่ยนแปลงในสภาพที่มีออกซิเจน (สภาพแห้ง) และสภาพที่ไม่มีออกซิเจน (สภาพน�้าขัง) การเปลี่ยนแปลง
จึงมีทั้งทางเคมี ชีวะ และกายภาพ กล่าวคือ เมื่อดินมีน�้าขัง การแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างอากาศในดินและ
บรรยากาศจะหยุดทันที ท�าให้ดินอยู่ในสภาพที่ไม่มีออกซิเจน เพราะออกซิเจนที่มีอยู่เดิมจะถูกจุลินทรีย์
ในดินน�าไปใช้ในการหายใจจนหมด ถ้าดินอยู่ในสภาพที่มีอากาศ ออกซิเจนจะท�าหน้าเป็นตัวรับอิเล็กตรอน
ส�าหรับการหายใจของจุลินทรีย์ดิน แต่เมื่อไม่มีออกซิเจน สารประกอบอื่นๆ จะท�าหน้าที่เป็นตัวรับอิเล็กตรอน
ในดินที่มีน�้าขัง จุลินทรีย์ที่อยู่ได้ทั้งในสภาพที่มีและไม่มีออกซิเจน รวมทั้งจุลินทรีย์ที่อยู่ได้เฉพาะสภาพที่
4+
-
3+
2-
+
ไม่มีออกซิเจนจะใช้ NO , Mn , Fe , SO , CO และ H เป็นตัวรับอิเล็กตรอน และเปลี่ยนรูปอนุมูล
4
3
2
ของสารประกอบเหล่านี้เป็น N , Mn , Fe , S , CH และ H ตามล�าดับ (ทัศนีย์, 2543; Reetz, 2002;
2+
2-
2+
2 4 2
Kirk, 2004; Kögel-Knabner et al., 2010; IRRI.org) อาจเปรียบเทียบลักษณะชั้นดินบนดินไร่และ
ดินนา ดังภาพที่ 2.1 การเปลี่ยนแปลงทางเคมีและชีวเคมีที่ส�าคัญในดินนา มีสาระส�าคัญ ดังนี้
N 2
N O
2
Fertilizer Fertilizer Fertilizer
NH + NH + NH +
4 4 4
-
Fe 3+ NO 3
Reduction NO - 3 Uptake
Uptake NO - Uptake
Fe 3+ Leaching Leaching 3
Leaching NH +
4
Leaching NH + 4 NH + 4 NH + 4 Soluble and NH + 4
Soluble and Soluble and Exchangeable
Exchangeable Exchangeable
Fixation Fixation Release
Oxidized Reduced
Soil Soil
ภาพที่ 2.1 ภาพการเปลี่ยนระหว่างดินนาและดินไร่
ที่มา: ดัดแปลงจาก Kleinhenz et al. (1996)
62 ธรรมชาติของดินนา ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว