Page 69 -
P. 69
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2) ดินด่างมีพีเอชลดลง จะลดลงจนใกล้เป็นกลาง เช่น จากพีเอช 8.0 เป็น 7.0 เนื่องมาจากการ
สะสม CO ในดินน�้าขัง
2
3) พีเอชของดินที่เป็นกลางมีเสถียรภาพ
4
การเปลี่ยนแปลงค่าสภาพการน�าไฟฟ้า
การเปลี่ยนแปลงค่าสภาพการน�าไฟฟ้าของสารละลายดินจะเพิ่มขึ้นถึงระดับสูงสุดระหว่าง 30-40
วันหลังการขังน�้า แล้วจึงลดลงอย่างรวดเร็วภายใน 20 วัน หลังจากนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย
ดินที่เป็นกลางและเป็นด่างเล็กน้อยจะมีค่าสภาพการน�าไฟฟ้าเริ่มต้นสูงแล้วลดลงอย่างช้าๆ ส่วนดินที่เป็น
กรดแก่ที่มีค่าสภาพการน�าไฟฟ้าเริ่มต้นต�่าจะมีค่าสภาพการน�าไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วภายใน 30 วันแรก
โดยการเปลี่ยนแปลงของค่าสภาพการน�าไฟฟ้านี้สะท้อนถึงสมดุลระหว่างปฏิกิริยาที่ท�าให้เกิดไอออน และ
ปฏิกิริยาที่ท�าให้ไอออนตกตะกอน
กลไกที่ท�าให้อิเล็กโทรไลต์ในดินเพิ่มขึ้น จนเป็นเหตุของการเพิ่มการน�าไฟฟ้ามีดังนี้
1) จากสภาพน�้าขังท�าให้ความเข้มข้นของแอมโมเนียม เหล็ก และแมงกานีสในสารละลายเพิ่มขึ้น
จึงท�าให้ค่าสภาพการน�าไฟฟ้าของสารละลายดินเพิ่มขึ้น โดยไอออนเหล่านี้อาจจะไปแทนที่แคตไอออน
ที่เป็นเบสออกมาอยู่ในสารละลายและมีโอกาสถูกชะละลายหรือถูกระบายไปกับน�้า ท�าให้เกิดการสูญเสีย
แคตไอออนเหล่านี้ออกไปจากดินได้
25
Alkalinity 2+
Concentraton in soil solution(mmol c L -1 ) 15 Ca + Mg + + 2+
20
2+
4+
NH
+
+ Na + K
4+
2+
Fe + Mn
10
5
0
0 2 4 6 8 10 12 14 16
Time (weeks after submergence)
ภาพที่ 2.3 การเปลี่ยนแปลงของการน�าไฟฟ้าของดินน�้าขัง
ที่มา: Ponnamperuma (1972); Kirk (2004)
ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว ธรรมชาติของดินนา 65