Page 70 -
P. 70

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                  2) นอกจากนี้ ในดินที่มีความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์โดยเฉพาะในสภาพดินด่างจะท�าให้
          ค่าสภาพการน�าไฟฟ้าของสารละลายดินเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกิด HCO  เกิดขึ้น (ทัศนีย์, 2543; Thenabadu,
                                                                -
                                                                3
          1967)
                  3) ค่าสภาพการน�าไฟฟ้าของสารละลายดินน�้าขัง  มีค่าสูงขึ้นหลังจากการขังน�้า  4  สัปดาห์
          ซึ่งมีความสัมพันธ์กับปริมาณอินทรียวัตถุ  ปริมาณเหล็กที่สกัดได้  ปริมาณธาตุอาหารหลักและจุลธาตุ

          ในสารละลายดิน  นอกจากนี้ค่าสภาพการน�าไฟฟ้าของสารละลายดินมีค่ากว้างเป็นผลมาจากระดับความ
          อุดมสมบูรณ์ของดิน (Sahrawat and Nareth, 2002)


                                                                                             5

                                             การเปลี่ยนแปลงของเหล็ก







             การเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่ส�าคัญที่สุดเมื่อดินมีน�้าขังก็คือการที่เหล็กถูกรีดิวซ์และละลายได้
          เพิ่มขึ้น เนื่องจากในดินโดยทั่วๆ ไป มีสารประกอบของเหล็กที่สามารถถูกรีดิวซ์ได้มากกว่าสารประกอบอื่นๆ

          ถึง 10 เท่าตัว  ถึงแม้ว่าสารประกอบของเหล็กอยู่ในรูปของเฟอริก (Fe ) และถูกรีดิวซ์ได้ยาก ตราบใด
                                                                     3+
                                     -
                                                                                              2+
                          -
          ที่ยังมี  O   ,  NO   และ  NO   อยู่  แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้ว  ดินบางชนิดมีความเข้มข้นของเฟอรัส  (Fe )
                  2      3          2
          ตั้งแต่ 6,000-8,000 มิลลิกรัมต่อลิตร  การที่ Fe  ถูกรีดิวซ์เป็น Fe  มีความส�าคัญคือให้ Fe  แก่ต้นข้าว
                                                                                     2+
                                                                 2+
                                                 3+
          แต่ถ้าดินมี pH ต�่า และมีปริมาณ Fe  มากเกินไปก็เป็นพิษต่อข้าวได้ (ทัศนีย์, 2543)
                                        2+






















                                 ภาพที่ 2.4  การเปลี่ยนแปลงของเหล็กของดินน�้าขัง
                                            ที่มา: Fendorf (2000)



          66    ธรรมชาติของดินนา                                     ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75