Page 165 -
P. 165

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




                     ก�รวัดคว�มต้�นท�นต่อก�รแทงดินในแต่ละระดับคว�มลึก จะช่วยให้ทร�บว่�มีชั้นด�นเกิดขึ้น
            ในหน้�ตัดดินหรือไม่ ห�กดินชั้นใดเป็นชั้นด�นจะเป็นอุปสรรคต่อก�รกระจ�ยของร�กผ่�นชั้นดินดังกล่�ว

            ทั้งนี้เนื่องจ�กร�กพืชไม่ส�ม�รถแทงผ่�นดินที่มีก�รอัดตัวแน่น  และค่�วัดสูงกว่�  300  ปอนด์/ต�ร�งนิ้ว
            (psi) ได้

                     สำ�หรับคว�มสัมพันธ์ระหว่�งคะแนนกับค่�คว�มต้�นท�นต่อก�รแทงดินของดินบนและดินล่�ง
            แสดงไว้ในภ�พที่ 6.8 และ 6.9 เพื่อใช้ประเมินคุณภ�พดินด้�นคว�มแข็งของดินบนและดินล่�ง สำ�หรับ
            ดินล่�งนั้นมีกร�ฟ 3 เส้น ซึ่งจำ�เพ�ะเจ�ะจงต่อก�รประเมินระดับคะแนนคุณภ�พดินด้�นคว�มแข็งสำ�หรับ

            ดินเนื้อหย�บ เนื้อป�นกล�งและเนื้อละเอียดด้วย


                        600


                        500
                     Pounds per square inch (psi)  400  Root growth is



                             reduce above 300psi
                        300


                        200


                        100


                          0
                           0          2          4          6          8         10        12         14        16         18
                                                  Depth (inches)


            ภ�พที่ 6.7 กร�ฟแสดงก�รอัดตัวแน่นของดินปลูกผักใช้หน่วยปอนด์ต่อต�ร�งนิ้ว (pounds per square inch,
            psi) ซึ่งวัดในแต่ละระดับคว�มลึกจ�กผิวดินจนถึงคว�มลึก 18 นิ้ว (คว�มย�ว 1 นิ้วเท่�กับ 2.54 เซนติเมตร และ
            แรง 1 ปอนด์/ต�ร�งนิ้ว เท่�กับ 6.9 x10  pascal, Pa)
                                            3


                 2.3 คว�มจุคว�มชื้นที่เป็นประโยชน์
                     นำ้�ในดินอยู่ในช่องและดูดซับรอบอนุภ�คดินทั้งส่วนที่เป็นอนุภ�คอนินทรีย์และอินทรียวัตถุ

            เนื่องจ�กอนุภ�คดินเหนียวมีขน�ดเล็กและพื้นที่ผิวจำ�เพ�ะสูง  จึงดูดซับนำ้�ได้ม�กกว่�ดินเนื้อหย�บ  แต่
            โดยทั่วไปแล้วดินเนื้อป�นกล�งจะมีค่�คว�มจุคว�มชื้นที่เป็นประโยชน์สูงกว่�ดินอีก 2 ประเภท จึงกล่�ว

            ได้ว่�ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคว�มชื้นที่เป็นประโยชน์มี 2 อย่�ง คือ 1) สมบัติภ�ยในของดิน ได้แก่ เนื้อดิน
            คว�มม�กน้อยของก้อนกรวดในชั้นดิน  และคว�มลึกของดิน  และ  2)  สมบัติที่มีพลวัต  ได้แก่  ปริม�ณ
            อินทรียวัตถุ ก�รอัดแน่นของดินและคว�มเข้มข้นของเกลือในดิน



                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     161
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170