Page 86 -
P. 86

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
         วารสารการจัดการป่าไม้                                                                                                    แนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียว...
         ปีที่ 12 ฉบับที่ 23                                                          พงศ์ปกรณ์ ผิวผ่อง และคณะ
                                                    84
                1.  การใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียวเพื่อการพัก  ส่งเสริมให้การพัฒนาพื้นที่สีเขียวให้เป็นไปอย่างมี
         ผ่อนหย่อนใจ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่า ความงาม  ประสิทธิภาพจะแบ่งตามประเภทการใช้ประโยชน์

         ทางภูมิทัศน์พาภยีนศัท/เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสิน  พื้นที่สีเขียว 3 ประเภทหลัก ซึ่งเรียงล�าดับตามความ
         ใจมากที่สุด โดยให้ค่าคะแนนสูงสุด 2,194 คะแนน   ส�าคัญตามความต้องการการใช้ประโยชน์ ได้แก่

         รองลงมา ได้แก่ การเข้าถึงพื้นที่ ความหลากหลาย  พื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว
         ของพันธุ์พืช การแบ่งสัดส่วนของพื้นที่ สิ่งอ�านวย  เพื่อการออกก�าลังกาย และพื้นที่สีเขียวเพื่อการเรียน
         ความสะดวกและความปลอดภัย และการดูแลและ         รู้และนันทนาการที่มีความงามทางภูมิทัศน์ พร้อม

         รักษาความสะอาด โดยมีค่าคะแนน 1,687, 1,563,    ทั้งเลือกแนวทางที่มีความจ�าเป็นอันดับสูง ดังมีราย
         984, 895 และ 762 คะแนน ตามล�าดับ              ละเอียดต่อไปนี้

                2.  การใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียวเพื่อ         1.  แนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียวเพื่อ
         การออกก�าลังกายกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่า    การพักผ่อนหย่อนใจ ควรให้ความส�าคัญกับปัจจัย
         สิ่งอ�านวยความสะดวกและความปลอดภัย เป็น        การเพิ่มพูนความงามทางภูมิทัศน์/ทัศนียภาพ ซึ่ง

         ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจมากที่สุด โดยให้ค่า  ประกอบด้วย 2 แนวทาง ดังต่อไปนี้
         คะแนนสูงสุด 2,103 คะแนน รองลงมา ได้แก่การ              แนวทางที่ 1 การจัดองค์ประกอบ

         แบ่งสัดส่วนของพื้นที่ การเข้าถึงพื้นที่ การดูแลและ  ทางกายภาพของพื้นที่ เน้นความสวยงามลงตัว
         รักษาความสะอาด ความงามทางภูมิทัศน์าภยีนศัท/พ   ตามหลักภูมิสถาปัตยกรรม พัฒนาพื้นที่ให้เกิด
         และความหลากหลายของพันธุ์พืช โดยมีค่าคะแนน     ความสัมพันธ์ระหว่างสวนที่สวยงามกับสิ่งต่างๆ

         1,879, 1,550, 1,424, 654 และ 475 คะแนน ตามล�าดับ  ที่อยู่โดยรอบ เช่น บ่อน�้า ทางเดิน เพิ่มพื้นที่สนาม
                                                       หญ้า และสวนหย่อมเพื่อให้พื้นที่สีเขียวสบายตา
                3.  การใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียวเพื่อการ

         เรียนรู้และนันทนาการที่มีความงามทางภูมิทัศน์  เป็นที่นั่งเล่น/นอนเล่น รับประทานอาหาร เพิ่มทาง
         กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่า ความงามทางภูมิ   เชื่อมระหว่างพื้นที่สีเขียวด้วยทางเดิน สะพาน หรือ

         ทัศน์/ทัศนีภาพ เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ  ทางข้ามถนนที่ปลอดภัย
         มากที่สุด โดยให้ค่าคะแนนสูงสุด 2,057 คะแนน             แนวทางที่ 2 ขจัดการรบกวนจากกิจกรรม
         รองลงมา ได้แก่ ความหลากหลายของพันธุ์พืช       ที่ขัดแย้งต่างๆ โดยจัดพื้นที่ให้อยู่ห่างกับถนน

         การแบ่งสัดส่วนของพื้นที่ สิ่งอ�านวยความสะดวก  ที่มีการจราจรหนาแน่น หรือถนนที่รถใช้
         และความปลอดภัย การดูแลและรักษาความสะอาด       ความเร็วสูง เพิ่มพื้นที่กันชนด้วยแนวเขตพันธุ์ไม้

         และการเข้าถึงพื้นที่ โดยมีค่าคะแนน 1,975, 1,565,   ที่มีประสิทธิภาพในการลดก๊าซมลพิษ และเพิ่ม
         961, 803 และ724 คะแนน ตามล�าดับ               ก๊าซออกซิเจนในบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัย
                                                       และแยกทางเดินเท้าออกจากถนนภายในพื้นที่สีเขียว
         แนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียวในที่ดินของมหาวิทยาลัย  เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงเสียงดัง มลพิษฝุ่นควันจากยาน

         เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน                 พาหนะ
                แนวทางการจัดการเพื่อการพัฒนาพื้นที่สีเขียว     2. แนวทางการจัดการและพัฒนาพื้นที่สี

         ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์และ  เขียวเพื่อการออกก�าลังกาย ควรให้ความส�าคัญกับ
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91