Page 81 -
P. 81

วารสารการจัดการปาไม                                                                 89                                          แนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียว........
                                      ปที่ 12 ฉบับที่ 23                                                                                                                               พงศปกรณ ผิวผอง และคณะ
                                            การพัฒนาพื้นที่สีเขียวในสถาบันการศึกษาเปนหนึ่งแนวทางในการเพิ่มและพัฒนาพื้นที่
                                      สีเขียวชุมชนเมือง ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                                      เพื่อประโยชนในดานของความรมรื่น เพิ่มบรรยากาศสดชื่น ลดปญหามลพิษสิ่งแวดลอม ใหนิสิต/
                                      นักศึกษา บุคลากร ตลอดจนประชาชนทั่วไปไดใชประโยชนในการผอนคลายความเครียด ลดความ
                                      เหนื่อยลา ทํากิจกรรมการออกกําลังกาย พักผอนหยอนใจ และการเรียนรูและนันทนาการที่มีความ
                                      งามทางภูมิทัศนซึ่งปจจัยที่จําเปนในการจัดทําแนวทางการพัฒนาพื้นที่สีเขียวในสถาบันการศึกษา
                                      ตามแผนปฏิบัติการเชิงนโยบายดานการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอยางยั่งยืน คือ ความเขาใจ
                                      ในเรื่องพฤติกรรมมนุษยกับการใชพื้นที่สีเขียวที่สอดคลองกับความตองการของผูใชประโยชน
                                      (วราลักษณ และ พุฒพรรณี, 2554)
                                            มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน มีพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่
                                      สีเขียว ตามแนวทางของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพราะ
                                      นอกจากนิสิตที่ใชบริการพื้นที่สีเขียวในมหาวิทยาลัยแลว ยังเปดโอกาสใหประชาชนทั่วไป เขามา
                                      ใชบริการพื้นที่สีเขียวภายในมหาวิทยาลัย อีกทั้งยังมีการพัฒนาพื้นที่สีเขียวรวมกับภาครัฐและ
                                      ภาคเอกชนเพื่อใหประชาชนทั่วไปไดใชประโยชนรวมกัน อยางไรก็ตาม การพัฒนาพื้นสีเขียว
                                      ภายในมหาวิทยาลัย ยังขาดขอมูลเรื่องพฤติกรรมมนุษยกับการใชพื้นที่สีเขียว ที่สอดคลองกับความ
                                      ตองการของผูใชประโยชนพื้นที่ เปนผลใหพื้นที่สีเขียวถูกใชไมเต็มศักยภาพ และถูกทิ้งใหรกราง
                                      ไมเกิดประโยชนสูงสุด ดังนั้น ผูวิจัยจึงตองการศึกษาลักษณะและรูปแบบการใชประโยชนพื้นที่สี
                    โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                      เขียวรวมถึงความตองการในการใชประโยชนพื้นที่สีเขียวในมหาวิทยาลัย เพื่อนําผลจากการวิจัยมา
             วารสารการจัดการป่าไม้                                                                                                    แนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียว...


             ปีที่ 12 ฉบับที่ 23         ใชเปนแนวทางการจัดการและพัฒนาพื้นที่สีเขียวในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต
                                                                                    พงศ์ปกรณ์ ผิวผ่อง และคณะ


                                                        79
                                      กําแพงแสน ที่สอดคลองกับความตองการของผูใชประโยชน และเพื่อใหเปนพื้นที่สีเขียวชุมชน
             นักศึกษา บุคลากร ตลอดจนประชาชนทั่วไปได้                   อุปกรณ์และวิธีการ
             ใช้ประโยชน์ในการผ่อนคลายความเครียด ลด         ประชากรและขนาดตัวอย่าง
                                      เมืองอยางยั่งยืนตอไป

             ความเหนื่อยล้า ท�ากิจกรรมการออกก�าลังกาย พัก         ประชากร คือ ผู้ที่เข้ามาใช้ประโยชน์
                                                                    อุปกรณและวิธีการ
             ผ่อนหย่อนใจ และการเรียนรู้และนันทนาการที่มี   พื้นที่สีเขียว ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                      ประชากรและขนาดตัวอยาง
             ความงามทางภูมิทัศน์ซึ่งปัจจัยที่จ�าเป็นในการจัด  วิทยาเขตก�าแพงแสน ซึ่งไม่ทราบจ�านวนผู้ที่มา
                                            ประชากร คือ ผูที่เขามาใชประโยชนพื้นที่สีเขียว ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

             ท�าแนวทางการพัฒนาพื้นที่สีเขียวในสถาบันการ    เข้าใช้ประโยชน์อย่างแน่ชัด จึงได้ก�าหนดขนาด
                                      วิทยาเขตกําแพงแสน ซึ่งไมทราบจํานวนผูที่มาเขาใชประโยชนอยางแนชัด จึงไดกําหนดขนาดของ
             ศึกษา ตามแผนปฏิบัติการเชิงนโยบายด้านการจัดการ  ของกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้ประโยชน์พื้นที่กรณีไม่ทราบ
             พื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน คือ ความเข้าใจ   จ�านวนประชากร โดยใช้สมการของ Cochran (1977)
                                      กลุมตัวอยางผูใชประโยชนพื้นที่กรณีไมทราบจํานวนประชากร โดยใชสมการของ Cochran (1977)
             ในเรื่องพฤติกรรมมนุษย์กับการใช้พื้นที่สีเขียวที่  ดังสมการข้างล่างนี้
                                      ดังสมการขางลางนี้
             สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์
                                                                                   2
             (วราลักษณ์ และ พุฒพรรณี, 2554)                            N  =       Z
                    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต                               4e 2
             ก�าแพงแสน มีพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่   โดยที่  n  =  ขนาดตัวอย่าง
             สีเขียว ตามแนวทางของส�านักงานนโยบายและแผน
             ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพราะนอกจาก            Z  =  ระดับความเชื่อมั่นก�าหนดที่ ร้อยละ 95
             นิสิตที่ใช้บริการพื้นที่สีเขียวในมหาวิทยาลัยแล้ว ยัง   e  =  ค่าความผิดพลาดที่ยอมรับได้โดย
             เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไป เข้ามาใช้บริการพื้นที่สี  ก�าหนด + ร้อยละ 5
                                                                  สามารถค�านวณขนาดตัวอย่างที่เหมาะสม
             เขียวภายในมหาวิทยาลัย อีกทั้งยังมีการพัฒนาพื้นที่สี  เท่ากับ 385 คน
             เขียวร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อให้ประชาชน
             ทั่วไปได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน อย่างไรก็ตาม การ  การพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย
             พัฒนาพื้นสีเขียวภายในมหาวิทยาลัย ยังขาดข้อมูลเรื่อง     การศึกษาวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการและ
             พฤติกรรมมนุษย์กับการใช้พื้นที่สีเขียว ที่สอดคล้อง  พัฒนาพื้นที่สีเขียวในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
             กับความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์พื้นที่ เป็นผลให้  วิทยาเขตก�าแพงแสน จังหวัดนครปฐม ต้องด�าเนิน
             พื้นที่สีเขียวถูกใช้ไม่เต็มศักยภาพ และถูกทิ้งให้รกร้าง   การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ต้องใช้ส�าหรับการวิจัย ดังนี้
             ไม่เกิดประโยชน์สูงสุด ดังนั้น ผู้วิจัยจึงต้องการ     1.  แบบสัมภาษณ์ เพื่อสอบถามกลุ่มตัวอย่าง
             ศึกษาลักษณะและรูปแบบการใช้ประโยชน์พื้นที่สี   ผู้ใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียวภายในมหาวิทยาลัย
             เขียวรวมถึงความต้องการในการใช้ประโยชน์พื้นที่  เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน โดยผู้วิจัยได้ท�าการ

             สีเขียวในมหาวิทยาลัย เพื่อน�าผลจากการวิจัยมาใช้  รวบรวมตัวชี้วัดซึ่งใช้เป็นค�าถามเพื่อวิเคราะห์เกี่ยว
             เป็นแนวทางการจัดการและพัฒนาพื้นที่สีเขียวใน   กับการพัฒนาและหาแนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียว

             มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน ที่  ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน
             สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์ และ   จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
             เพื่อให้เป็นพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนต่อไป  แล้วน�ามาประยุกต์ใช้กับสถานที่ที่ท�าการศึกษาวิจัย
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86