Page 82 -
P. 82
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ แนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียว...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 พงศ์ปกรณ์ ผิวผ่อง และคณะ
80
2. แนวค�าถาม ส�าหรับสัมภาษณ์ผู้บริหารที่ ของกลุ่มตัวอย่างในการใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียว
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นที่สีเขียวภายในมหาวิทยาลัย ซึ่งมี 6 ประเภท ได้แก่ ความหลากหลายของพันธุ์
เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน ประกอบด้วยเนื้อหา พืช ความงามทางภูมิทัศน์/ทัศนียภาพ การเข้าถึง
3 ส่วน ได้แก่ 1) แผนการด�าเนินงานด้านการจัดการพื้นที่ พื้นที่ การแบ่งสัดส่วนของพื้นที่ สิ่งอ�านวยความ
สีเขียวในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน สะดวกและความปลอดภัย และการดูแลและรักษา
2) แนวทางการจัดการและพัฒนาพื้นที่สีเขียว และ 3) ความสะอาด
แนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 3. การวิเคราะห์เพื่อเสนอแนะแนวทางการ
ในการพัฒนาพื้นที่สีเขียว จัดการพื้นที่สีเขียวในที่ดินของมหาวิทยาลัย โดยเรียง
ล�าดับตามความส�าคัญของประเภทการใช้ประโยชน์
การเก็บรวบรวมข้อมูล พื้นที่สีเขียว พร้อมทั้งน�าปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสิน
แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การ ใจของกลุ่มตัวอย่าง มาจัดกลุ่มความส�าคัญเป็น 3
สัมภาษณ์ผู้ที่เข้ามาใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียว ภายใน ระดับ โดยใช้เทคนิคการแบ่งช่วงชั้นแบบควอไทล์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน (Quartile) ดังนี้
ด้วยแบบสัมภาษณ์ จ�านวน 385 ตัวอย่าง และ 3.1 ปัจจัยที่มีความส�าคัญระดับสูง (H)
2) การสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างกับผู้บริหารและเจ้า 3.2 ปัจจัยที่มีความส�าคัญระดับปาน
หน้าที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการ กลาง (M)
พัฒนาพื้นที่สีเขียว จ�านวน 3 ราย 3.3 ปัจจัยที่มีความส�าคัญระดับต�่า (L)
จากนั้นประมวลและสังเคราะห์ผลการ
การวิเคราะห์ข้อมูล ศึกษาทั้งหมด น�ามาก�าหนดแนวทางการจัดการ
ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ แยกการวิเคราะห์ และพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้
ข้อมูลออกเป็น 3 ประเด็น ดังนี้ ใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียว โดยการวิจัยในครั้งนี้
1. การวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนาโดยใช้ จะเรียงล�าดับแนวทางการจัดการตามล�าดับความ
โปรแกรมส�าเร็จรูปในคอมพิวเตอร์ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ต้องการการใช้ประโยชน์ และเลือกเฉพาะปัจจัย
ทางเศรษฐกิจและสังคม รูปแบบการใช้ประโยชน์ ที่ความส�าคัญระดับสูงในแต่ละประเภทการใช้ประ
พื้นที่สีเขียว และการประเมินความพึงพอใจของ โยชน์นั้นๆ
กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์
2. การประยุกต์ใช้กระบวนการล�าดับชั้นเชิง
วิเคราะห์ (วิฑูรย์, 2542) ส�าหรับการประเมินความ ผลและวิจารณ์
ส�าคัญของประเภทการใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียวโดย ลักษณะและรูปแบบการใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียว
ก�าหนดประเภทการใช้ประโยชน์ 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทและจ�านวนผู้มาใช้ประโยชน์ พบ
พักผ่อนหย่อนใจ ออกก�าลังกาย และการเรียนรู้และ ว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มาใช้ประโยชน์พื้นที่
นันทนาการที่มีความงามทางภูมิทัศน์ พร้อมทั้งเรียง สีเขียวกันเป็นกลุ่มเพื่อน คิดเป็นร้อยละ 64.94 โดย
ล�าดับความส�าคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ มีจ�านวนเพื่อนในกลุ่ม 3, 2, 5, 10, 4, 8, 7 และ