Page 84 -
P. 84
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ แนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียว...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 พงศ์ปกรณ์ ผิวผ่อง และคณะ
82
ใช้ประโยชน์ในพื้นที่สีเขียว พบว่า 1) การใช้ประโยชน์ ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อความงาม
ประเภทการออกก�าลังกายที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ทางภูมิทัศน์/ทัศนียภาพอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย =
ท�ามากที่สุด คือ การวิ่ง คิดเป็นร้อยละ 74.29 รองลง 3.988)
มาคือ การเดิน แบดมินตัน และออกก�าลังกายโดยใช้ 3. การเข้าถึงพื้นที่ พบว่า ในภาพรวมกลุ่ม
เครื่องออกก�าลังกาย คิดเป็นร้อยละ 61.82, 36.36 และ ตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการเข้าถึงพื้นที่อยู่ใน
23.38 ตามล�าดับ 2) การใช้ประโยชน์ประเภทการพัก ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.986)
ผ่อนหย่อนใจที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ท�ามากที่สุด คือ 4. การแบ่งสัดส่วนของพื้นที่พบว่า ในภาพ
นั่งเล่น/นอนเล่น คิดเป็นร้อยละ 70.13 รองลงมาคือ รวมกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการแบ่งสัดส่วน
รับประทานอาหาร พบปะสังสรรค์ และอ่านหนังสือ ของพื้นที่อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.394)
คิดเป็นร้อยละ 70.13, 64.16 และ 56.88 ตามล�าดับ 5. สิ่งอ�านวยความสะดวกและความ
และ 3) การใช้ประโยชน์ประเภทการเรียนรู้และ ปลอดภัย พบว่า ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีความ
นันทนาการที่มีความงามทางภูมิทัศน์ที่กลุ่มตัวอย่าง พึงพอใจต่อสิ่งอ�านวยความสะดวกและความ
ส่วนใหญ่ท�ามากที่สุด คือ ถ่ายภาพ คิดเป็นร้อยละ ปลอดภัยอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 3.086)
80.78 รองลงมาคือ ชมธรรมชาติ ถ่ายวิดีโอ และ 6. การดูแลและรักษาความสะอาด พบว่า
ดูนกคิดเป็นร้อยละ 68.83, 18.44 และ 13.77 ตามล�าดับ ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการดูแล
เหตุผลในการมาใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียวที่ และรักษาความสะอาดอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย =
ของกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้ประโยชน์ พบว่า กลุ่มตัวอย่าง 3.631)
ส่วนใหญ่มาใช้ประโยชน์พื้นที่สีเขียวเนื่องจากพื้นที่ จากผลการสัมภาษณ์เกี่ยวกับความพึง
มีความงามทางภูมิทัศน์คิดเป็นร้อยละ 83.38 รองลง พอใจของกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้ประโยชน์ต่อพื้นที่สี
มา คือ พื้นที่มีต้นไม้มาก/ร่มรื่น เดินทางสะดวก และ เขียวดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างผู้ใช้ประโยชน์พื้นที่สี
มีพื้นที่กว้าง ท�ากิจกรรมได้หลากหลายคิดเป็นร้อย เขียวได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมว่า ควรมีการจัดหา
ละ 75.06, 61.82 และ 54.29 ตามล�าดับ ให้มีสิ่งอ�านวยความสะดวกเพิ่มเติม เนื่องจากที่
ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้ มีอยู่ไม่เพียงพอ และบางส่วนอยู่ในสภาพช�ารุด
ประโยชน์ต่อพื้นที่สีเขียว พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ทรุดโทรมไม่ได้รับการดูแลรักษา เช่น ห้องน�้า
ผู้ใช้ประโยชน์ในภาพรวมมีความพึงพอใจต่อพื้นที่ เก้าอี้ ถังขยะ หลอดไฟ และเครื่องเล่นต่างๆ ควรมี
สีเขียวของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต การตกแต่งและบ�ารุงรักษาพื้นที่สีเขียวให้อยู่ในสภาพ
ก�าแพงแสนในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.418) โดย สวยงามและพร้อมใช้ ส่วนความปลอดภัยมีข้อเสนอ
สามารถวิเคราะห์แยกเป็นประเภทตัวชี้วัดได้ ดังนี้ แนะว่าควรมีมาตรการไม่ให้มีการมั่วสุม ดื่มสุรา
1. ความหลากหลายของพันธุ์ไม้พบว่า ใน และทะเลาะวิวาท หรือควรติดตั้งกล้องวงจรปิดเพิ่ม
ภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อความหลาก เติม เนื่องจากมีความกังวลใจในเรื่องความปลอดภัย
หลายของพันธุ์ไม้อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.075) สามารถกล่าวได้ว่า ลักษณะและรูปแบบการ
2. ความงามทางภูมิทัศน์/ทัศนียภาพพบว่า ใช้ประโยชน์ของกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้ประโยชน์พื้นที่สี