Page 91 -
P. 91
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ การมีส่วนร่วมของราษฎรในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 ก้องกิตติพัศ พิชัยณรงค์ และคณะ
89
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม ระดับการมีส่วนร่วม
และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของราษฎรในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่
สลิด - โป่งแดง ต�าบลวังประจบ อ�าเภอเมือง จังหวัดตาก ข้อมูลการศึกษารวบรวมโดยใช้แบบสอบถามไป
สอบถามราษฎรที่ตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยในท้องที่บ้านน�้าดิบหมู่ที่ 6 ต�าบลวังประจบอ�าเภอเมือง จังหวัดตาก
รวมจ�านวน 192 ครัวเรือน วิธีวิเคราะห์ทางสถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ ค่าสถิติ t-test และค่าสถิติ
F-test ก�าหนดนัยส�าคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.05)
ผลการศึกษาพบว่าราษฎรตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชายมีอายุเฉลี่ย 46.71 ปี มีการศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีจ�านวนสมาชิกและมีจ�านวนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 4.03 คน และ 2.95 คน
ตามล�าดับ มีอาชีพหลักเกษตรกรรม(ท�านา ท�าสวน ท�าไร่) มีรายได้ของครัวเรือนต่อปีเฉลี่ย 58,378.13 บาท
มีระยะเวลาการตั้งถิ่นฐานเฉลี่ย 36.29 ปี มีความคุ้นเคยกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้เป็นอย่างดีเป็นสมาชิกกลุ่มทาง
สังคม เคยได้รับข้อมูลข่าวสาร เคยได้รับการฝึกอบรม และมีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อยู่
ในระดับมาก ราษฎรมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่ท�าการศึกษาอยู่ใน
ระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.30 ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของราษฎรในการฟื้นฟูทรัพยากร
ป่าไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่ท�าการศึกษา ได้แก่ระดับการศึกษา และความคุ้นเคยกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้
ค�าส�าคัญ: ราษฎร การมีส่วนร่วม การฟื้นฟู ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่สลิด–โป่งแดง จังหวัดตาก
ค�าน�า รับความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินจ�านวนมาก
ทรัพยากรป่าไม้ เป็นทรัพยากรธรรมชาติ รัฐต้องสูญเสียเงินงบประมาณเยียวยาบรรเทาความ
ประเภทหนึ่งที่มีความส�าคัญต่อการพัฒนาประเทศ เดือดร้อนให้กับราษฎรเป็นจ�านวนมาก ดังนั้นการ
มีความส�าคัญต่อมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็น อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ให้คงความอุดมสมบูรณ์
ทรัพยากรที่น�ามาใช้ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ เพื่อรักษาสภาพแวดล้อมจึงเป็นสิ่งที่ส�าคัญ จาก
สังคมมีความสัมพันธ์ต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของ การส�ารวจพื้นที่ป่าไม้ของประเทศไทยล่าสุดเมื่อปี
ราษฎรในชนบท และมีความสัมพันธ์ต่อภูมิอากาศ พ.ศ. 2556 โดยกรมป่าไม้ ร่วมกับคณะวนศาสตร์
หากทรัพยากรป่าไม้ถูกน�าไปใช้ประโยชน์อย่างไม่มี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่าปี พ.ศ. 2556 มี
ขอบเขตจ�ากัด หรือขาดความรับผิดชอบจนท�าให้ เนื้อที่ป่าไม้เหลืออยู่ 102.12 ล้านไร่ คิดเป็นร้อย
เกิดความเสื่อมโทรมลงหรือหมดสิ้นไป ย่อมส่ง ละ 31.57 ของพื้นที่ประเทศ (กรมป่าไม้, 2560)ซึ่ง
ผลท�าให้เกิดวิกฤตการณ์และเกิดความเสียหายต่อ ปัญหาความเสื่อมโทรมของพื้นที่ป่าไม้มีแนวโน้ม
สภาพแวดล้อมและราษฎรรวมถึงก่อให้เกิดปัญหา ทวีความรุนแรงมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นการบุกรุกท�าลาย
และอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ ดังที่เกิดขึ้นในปี พื้นที่ป่าเศรษฐกิจและพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย
พ.ศ. 2532 ที่อ�าเภอกระทูน จังหวัดนครศรีธรรมราช หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจ�าเป็นต้องหามาตรการเพื่อ
ซึ่งเกิดอุทกภัยจากพายุเกย์ท�าให้ดินถล่ม ราษฎรได้ แก้ไขปัญหาการบุกรุกท�าลายป่าอย่างเร่งด่วนภาย