Page 25 -
P. 25
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ของตลาดเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ดังนั้นระดับของสินค้าคงคลังจึงต้องมีระดับที่เหมาะสม ไม่มากหรือน้อย
เกินไป ในอินเดียพบว่าบริษัทส่วนใหญ่จะประสบปัญหามีสินค้าคงคลังมากเกินไป 2) ประเด็นเรื่อง
ระยะเวลาในการรอคอยสินค้า (lead time) จะเห็นได้ว่าอุตสาหกรรมนี้อายุสินค้ามีระยะเวลาสั้นแต่
บริษัทสิ่งทอในอินเดียกลับมีระยะเวลาในการรอคอยสินค้านานมากโดยใช้เวลาตั้งแต่เริ่มสั่งท าการผลิตถึง
6 เดือนซึ่งส่งผลให้มีสินค้าในสต็อกเพิ่มสูงขึ้น 3) ปัญหาในเรื่องการขาดข้อมูล ท าให้ขาดความแม่นย า ใน
การประมาณการสินค้าคงคลังพบว่าบริษัทของอินเดีย พบว่ามีปัญหาการขาดความชัดเจนในทุกระดับของ
โซ่อุปทาน ท าให้ขาดการประสานงานและเกิดปัญหาเรื่องสินค้าคงคลัง 4) การขาดความร่วมมือ เช่น ขาด
การใช้ข้อมูลร่วมกันการตัดสินใจร่วมกันการแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในโซ่อุปทาน
5) การขนส่ง (Logistic) ระบบการขนส่งที่มีประสิทธิภาพมีความส าคัญต่อการจัดการโซ่อุปทาน ในขณะที่
การขนส่งในอินเดียนั้นมีลักษณะแบบกระจายเป็นรายเล็ก ๆ จ านวนมาก มีทั้งองค์กรที่มีการจัดการที่ดี
และไม่ดีท าให้ขาดการพัฒนาขาดประสิทธิภาพในการท างาน 6) เทคโนโลยี พบว่าในอินเดียการพัฒนาทาง
เทคโนโลยียังมีต่ ากว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว
1.4 ขอบเขตกำรศึกษำ
1. เกษตรกรและกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงไหมอีรี่ ใน 4 จังหวัดได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ เชียงใหม่
1
สระแก้ว อ านาจเจริญ นอกจากนี้ยังมีการเก็บข้อมูลของจังหวัดอุทัยธานีเพื่อเป็นกรณีศึกษาตัวแบบที่ดี
2. ผู้ประกอบการแปรรูป โรงงานทอไหม โรงงานสิ่งทอ ผู้จ าหน่ายผลิตภัณฑ์สิ่งทอ สมาคมสิ่ง
ทอ และผู้เกี่ยวข้อง
3. หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ศูนย์ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านไหม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศูนย์วิชาการและเทคโนโลยีสิ่งทอพื้นบ้าน(ฝ้ายแกมไหม) สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรมหม่อนไหม เป็นต้น
1.5 วิธีด ำเนินกำรวิจัย
การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นที่จะศึกษาเรื่องการพัฒนาอุตสาหกรรมต้นน้ าของไหมอีรี่ หรือศักยภาพ
การผลิตของเกษตรกร เพื่อรองรับการเป็นอุตสาหกรรมเชิงพาณิชย์ ซึ่งจะวิเคราะห์ในเรื่องของความ
เป็นไปได้ทางด้านการผลิต คุณภาพ และมาตรฐาน เพื่อรองรับความต้องการของผู้แปรรูป และผู้บริโภค
1
จังหวัดอุทัยธานีไม่ได้น ามาวิเคราะห์ต้นทุนผลตอบแทนน ามาใช้เพื่อเป็นต้นแบบด้านการจัดการเท่านั้นและ จังหวัดสระแก้วไม่ได้น ามาวิเคราะห์ต้นทุน
ผลตอบแทนการเลี้ยงไหมเนื่องจากเป็นการผลิตเพื่อขายดักแด้เป็นหลัก ไม่มีการแปรรูปเป็นเส้นไย
6