Page 29 -
P. 29
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
1.1) วิเคราะห์ Point of entry ซึ่งเป็นการวิเคราะห์กิจกรรมที่เกิดขึ้นในแต่ละระดับจาก
ตลาดต้นน้ าไปถึงตลาดปลายน้ า และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของห่วงโซ่อุปทานในระดับต่างๆ รวมทั้ง
บทบาทหน้าที่ของแต่ละกิจกรรมในห่วงโซ่อุปทาน ทั้งนี้จะท าให้เข้าใจถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในห่วงโซ่
อุปทาน
1.1.1) การวิเคราะห์ความเชื่อมโยงในแต่ละระดับของห่วงโซ่อุปทานและความ
สอดคล้องของการกระจาย ข้อมูล ผลิตภัณฑ์ บริการ การเงิน ความรู้ในแต่ละระดับของห่วงโซ่อุปทาน
และวัดต้นทุนส่วนเพิ่ม ก าไรและส่วนเหลื่อมตลาด ตลอดห่วงโซ่คุณค่า ตามตารางที่ 1.1
ตำรำงที่ 1.1 วิธีการค านวณต้นทุนส่วนเพิ่ม ก าไร และส่วนเหลื่อมการตลาด
หน่วย : ต่อกิโลกรัมใยไหม
ส่วนเหลื่อม
ต้นทุน ต้นทุนส่วน รำคำ ก ำไรจำก
ก ำไรทั งหมด กำรตลำด
ทั งหมด เพิ่ม ขำย ผลผลิตใยไหม
(Margin)
2
รังไหม A - E E-A (E-A)+H E
เส้นด้าย A+B B F F-A-B (E-A-B)+H F- E
ผ้าทอ A+B+C C G G-A-B-C (E-A-B-C)+H G-F
รวม D=A+B+C
โดย D คือ ผลรวมของต้นทุนทั้งหมดของต้นทุนส่วนเพิ่ม
H คือ รายได้จากการขายดักแด้
โดยที่ต้นทุนส่วนเพิ่ม เป็นต้นทุนส่วนเพิ่มจากระดับการผลิตในขั้นก่อนหน้า ค านวณ
จากค่าขนส่ง ค่าแรงงาน ค่าแปรรูป ค่าบรรจุภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายบริหาร ค่าดอกเบี้ย ค่าภาษีเงินได้ ค่าสูญเสีย
น้ าหนัก และค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ก าไร เป็นส่วนต่างระหว่างราคาขายและต้นทุนทั้งหมด
ส่วนเหลื่อมตลาด (Margin) เป็นส่วนต่างระหว่างราคาขายและราคารับซื้อ ในแต่ละ
ขั้นการผลิต
2
ส่วนเหลื่อมการตลาด ( Margin) ในแต่ละระดับเป็นการค านวณความแตกต่างระหว่างราคาขายและราคารับซื้อในแต่ละขั้นการผลิต ดังนั้นการค านวณส่วนเหลื่อม
การตลาดระดับเกษตรกรจะไม่มีราคารับซื้อก่อนหน้า ดังนั้นส่วนเหลื่อมการตลาดของเกษตรกรจะเท่ากับราคาขายของเกษตรกร
10