Page 43 -
P. 43

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                         บทที่ 3

                                                     ระเบียบวิธีวิจัย




                       งานวิจัยเรื่อง การวิเคราะหหวงโซคุณคาการจัดการระบบวนเกษตรเพื่อฟนฟูความหลากหลายทาง

               ชีวภาพและเพิ่มความมั่นคงทางอาหารของชุมชน กรณีโครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชน จังหวัดเชียงใหม
               ผูวิจัยผสมผสานเทคนิคการวิจัยเชิงสํารวจ (ปริมาณ) รวมกับเทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีรายละเอียดและ

               ขั้นตอนการวิจัย ดังตอไปนี้


               3.1 การรวบรวมและศึกษาขอมูลพื้นฐานและขอมูลทุติยภูมิ


                      ขอมูลพื้นฐาน ประกอบดวย ขอมูลเกี่ยวกับประวัติและพัฒนาการของชุมชนแมทา และขอมูลทางดาน

               เศรษฐกิจและสังคมของตําบลแมทา โดยผูวิจัยไดรวบรวมจากเอกสารและรายงานการวิจัยที่มีผูศึกษาไวกอน
               หนา นอกเหนือจากขอมูลดังกลาวแลว ในขั้นตอนนี้ผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการถือครองที่ดินของ

               เกษตรกรในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชนแมทาโดยการจัดประชุมกลุมยอยรวมกับเจาหนาที่ของ

               องคการบริหารสวนตําบลแมทาซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับระบบฐานขอมูลเกษตรกรซึ่งในขั้นตอนนี้

               ทําใหผูวิจัยสามารถระบุรายชื่อเจาของแปลงวนเกษตรที่อยูในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชนไดโดยจะ

               นําขอมูลในสวนนี้ไปใชประโยชนสําหรับการวางแผนการเก็บรวบรวมขอมูลตอไป


               3.2 การพัฒนาเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนาม

                      ประกอบดวย 3 สวน ไดแก แบบสัมภาษณรายครัวเรือน ประเด็นคําถามสัมภาษณเชิงลึกเกษตรกร

               และแบบสํารวจความหลากชนิดของพืชในระบบวนเกษตร ดังรายละเอียดตอไปนี้


                      3.2.1 แบบสัมภาษณรายครัวเรือน ใชสําหรับการเก็บรวบรวมขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคมของ

               เกษตรกรในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชน เนื้อหาของแบบสัมภาษณมีทั้งหมด 4 สวน ไดแก สวน

               แรก ขอมูลพื้นฐานของผูใหสัมภาษณ สวนที่สอง การถือครองที่ดินและใชประโยชนที่ดินในพื้นที่โครงการฯ
               สวนที่สาม ความคิดเห็นของประชาชน/เกษตรกรเกี่ยวกับโครงการจัดที่ดินทํากินฯ และสวนที่สี่ ขอคิดเห็นและ

               ขอเสนอแนะอื่นๆ


                      3.2.2 แบบสัมภาษณเกษตรกรเกี่ยวกับศักยภาพและความหลากหลายของพืชในระบบวนเกษตรตอ

               ความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ใชสําหรับการสัมภาษณเกษตรกรผูที่ไดรับการอนุญาตใหใชประโยชนที่ดินใน

               พื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชนฯ และเปนผูที่ทําระบบวนเกษตร เนื้อหาของแบบสัมภาษณมีทั้งหมด

               4 สวน ประกอบดวย สวนแรก ขอมูลทั่วไปของเจาของแปลวนเกษตร สวนที่สอง ผลผลิตและการจัดการระบบ



                                                           43
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48