Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               วนเกษตร สวนที่สาม บทบาทของระบบวนเกษตรตอความมั่นคงทางอาหารของครัวเรือน และสวนที่สี่

               ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ


                      3.2.3 ประเด็นคําถามสัมภาษณเชิงลึกเกษตรกร ใชสําหรับการรวบรวมขอมูลจากเกษตรกรเจาของ
               แปลงวนเกษตรเกี่ยวกับการจัดการระบวนเกษตรโดยจะนําขอมูลในสวนนี้ไปวิเคราะหเกี่ยวกับโซคุณคาการ

               จัดการระบบวนเกษตรของเกษตรในพื้นที่โครงการฯ ประเด็นคําถามแบงออกเปน 6 ประเด็นหลัก ไดแก การ

               จัดหาที่ดินและพื้นที่ การคัดเลือกชนิดพันธุพืชและไมยืนตน การวางแผนการปลูก/การจัดเรียงองคประกอบใน

               แปลงวนเกษตร การจัดการและพัฒนาแปลงวนเกษตรกร ผลผลิตและการตลาด และการรวมกลุม/เครือขาย

               เกษตรอินทรียของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษา


                      3.2.4 แบบสํารวจความหลากชนิดของพืชในระบบวนเกษตร ใชสําหรับการบันทึกขอมูลไมยืนตน พืช
               อายุยืนยาว และพืชเกษตรที่พบในระบบวนเกษตร ทั้งนี้ แบบสํารวจขอมูลจะแบงออกเปน 2 สวนหลักๆ ไดแก

               สวนแรก ขอมูลเกี่ยวกับไมยืนตนและพืชอายุยืนยาว ประกอบดวย ขอมูลของชนิดไมยืนตน/พืชอายุยืนยาว

               ความโต ความสูง และการใชประโยชน สําหรับสวนที่สองจะเกี่ยวกับพืชไร/พืชเกษตร/พืชอายุสั้น ประกอบไป

               ดวยขอมูลชนิดของพืช จํานวน/สัดสวนของพืชตอพื้นที่ และการใชประโยชน


               3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล

                       แบงออกเปน 3 สวนหลักๆ ตามประเภทขอมูล ไดแก ขอมูลเชิงปริมาณดานเศรษฐกิจและสังคม

               ขอมูลความหลากชนิดของพืชในระบบวนเกษตร และขอมูลเชิงคุณภาพ โดยมีวิธีการดังตอไปนี้


                       3.3.1 ขอมูลเชิงปริมาณดานเศรษฐกิจและสังคม แบงออกเปน 2 สวน ดังนี้


                       1) ขอมูลเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชน ประชากร

               ไดแก เกษตรกรในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชน จํานวน 1,540 ครัวเรือน  กําหนดขนาดตัวอยางที่
                                                 2
               เหมาะสมดวยสูตรของ  Taro Yamane  (1973)  ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %  ไดขนาดตัวอยางที่เหมาะสม

               เทากับ 318 ราย และทําการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณหัวหนาครัวเรือนหรือผูแทนโดยใชเทคนิคการ
               สุมตัวอยางแบบชั้นภูมิกระจายไปตามหมูบานทั้ง 7 หมูบานในพื้นที่ตําบลแมทา อําเภอแมออน จังหวัด

               เชียงใหม โดยใชเทคนิคการสุมตัวอยางแบบงายเพื่อสุมเลือกครัวเรือนตัวอยาง ทั้งนี้ไดทําการสัมภาษณหัวหนา

               ครัวเรือนและผูแทนทั้งหมด 348 ราย ดังรายละเอียดในตารางที่ 6



               2           2
                 n = N/(1+Ne )
               เมื่อ n คือ ขนาดตัวอยางที่เหมาะสม, N คือ ประชากร, e คือ ความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยาง




                                                           44
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49