Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               3.4 การวิเคราะหขอมูล


                      3.4.1 การวิเคราะหขอมูลเศรษฐกิจสังคมของเกษตรกร ทําการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนา

               แสดงคาความถี่ คารอยละ คาสูงสุด คาต่ําสุด และคาเฉลี่ย


                3.4.2 การวิเคราะหขอมูลความหลากชนิดของพืชในระบบวนเกษตร ประกอบดวย 2 สวน ไดแก สวน
               แรก การวิเคราะหหาคาความหนาแนนของไมยืนตน โดยแบงไมยืนตน/พืชอายุยืนยาว ออกเปน 5 กลุม ไดแก

               ไมปา ไมผล ไผ และปาลม สวนที่สอง การวิเคราะหคาดัชนีความหลากหลาย โดยใชสูตรของ Shannon-

               Wiener (Shannon-Wiener’s Index, H)

                              n
                       H      ¦ Pi ln*  Pi
                                i 1

                              เมื่อ   H = ดัชนีความหลากหลายของชนิด

                                     Pi = สัดสวนของจํานวนสิ่งมีชีวิตชนิดที่ i ตอจํานวนสิ่งมีชีวิตทั้งหมดในประชากร

                                      n = จํานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตที่พบทั้งหมดในประชากร


                      3.4.3 การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ประกอบดวย การวิเคราะหศักยภาพและขอจํากัดในการปรับใช

               ระบบวนเกษตรของเกษตรกรรายยอยโดยอาศัยเทคนิคการวิเคราะห  SWOT  และการวิเคราะหโซคุณคาการ

               จัดการระบบวนเกษตรโดยประยุกตใชแนวคิดโซคุณคาของ  Michael E.  Porter  (1985)  โดยชี้ใหเห็น

               องคประกอบของการจัดการระบบวนเกษตร ไดแก ปจจัยนําเขา วิธีการจัดการ ผลผลิต และชองทางการตลาด
               รวมถึงปจจัยเชิงสถาบันทั้งในระดับนโยบายและระดับชุมชนที่มีผลตอการพัฒนาระบบวนเกษตรในพื้นที่ศึกษา

               แสดงผลโดยอาศัยแผนภาพความเชื่อมโยงของปจจัยตางๆ เปนลําดับขั้นตอนตอเนื่อง






























                                                           46
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51