Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                      นับตั้งแตป พ.ศ. 2550 เปนตนมา องคการบริหารสวนตําบลแมทา เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในการ

               สนับสนุนและสรางกระบวนการจัดการทรัพยากรดิน น้ํา ปาของชุมชนแมทา ทั้งนี้ บทบาทที่สําคัญอยางยิ่งของ

               อบต. แมทา ก็คือ การออกขอบัญญัติระดับตําบลดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมซึ่งเสมือน

               เปนธรรมนูญหรือกฎหมายของชุมชนในดานการจัดการทรัพยากรปาไม

                      การจัดการทรัพยากรดิน น้ํา ปาของชุมชนแมทามีจุดเปลี่ยนอีกครั้งในป พ.ศ. 2558 เมื่อรัฐบาล คสช.

               มีนโยบายในการจัดที่ดินทํากินใหกับเกษตรกรผูยากไร ทั้งนี้ ชุมชนตําบลแมทาไดรับเลือกใหเปนพื้นที่นํารอง

               แหงแรกของประเทศไทยในการดําเนินนโยบายจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชน ซึ่งโครงการจัดที่ดินทํากินใหกับ

               ชุมชนไดสรางความชอบธรรมทางกฎหมายใหกับชาวบานในตําบลแมทาในการเขาถึงและใชประโยชนที่ดินใน

               เขตปาสงวนแหงชาติ โดยมีระยะเวลาของการอนุญาต 30 ป

                      ในปจจุบัน การจัดการฐานทรัพยากรดิน น้ํา ปาของชุมชนตําบลแมทาถือเปนการจัดการทรัพยากรปา

               ไมบนฐานชุมชน ( Community-based forest management)  โดยมีสถาบันพัฒนาทรัพยากรและ

               เกษตรกรรมยั่งยืนแมทา ซึ่งเปนองคกรชุมชน ระดับตําบลได ทําหนาที่เสมือนเปนหนวย งานที่คอยบูรณาการ

               ชุมชนของคนแมทา ที่มีการบริหารจัดการแบบองครวม ทั้งดิน น้ํา ปา สิ่งแวดลอม และวิถีชีวิตความเปนอยู

               ของทองถิ่น มีรูปแบบการบริหารจัดการโดยชุมชน ปจจุบันเปนศูนยการเรียนรูและถายทอดองคความรูดาน
               การจัดการทรัพยากรในทองถิ่น เกษตรอินทรีย และรูปแบบการดําเนินการพัฒนาทองถิ่นแบบองครวม    ใน

               ขณะเดียวกันมีหนวยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนเขาไปหนุนเสริมกระบวนการจัดการทรัพยากรของ

               ชุมชน สามารถสรุปพัฒนาการจัดการทรัพยากรของชุมชนแมทา ดังตารางที่ 4


               ตารางที่ 4 พัฒนาการการจัดการทรัพยากรของชุมชนแมทา อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม


                 พ.ศ.                                        เหตุการณสําคัญ


               2400 -    x รัฐเปดใหมีการสัมปทานไมสัก ไมหมอนรถไฟ และไมฟนโรงบมใบยาสูบ โดยชุมชนไดรองขอบริษัททํา

               2500         ไมใหงดเวนการตัดไมบริเวณปาตนน้ําหวยแมบอน

                         x ชาวบานเปลี่ยนจากการปลูกถั่วลิสงมาเปนยาสูบ และใชสารเคมีมากขึ้น


               2500 -    x  รัฐประกาศพื้นที่ปาเปนปาสงวนแหงชาติขุนแมทา พ.ศ. 2525

               2530      x  ชุมชนยังมีการจัดการปาตามวิถีวัฒนธรรมและความเชื่อมีรูปแบบการจัดการน้ําภายใตระบบเหมือง


                            ฝาย

                         x  มีการสงเสริมใหปลูกขาวโพดฝกออนในพื้นที่ ทําใหเกิดการบุกรุกปาเพื่อถือครองพื้นที่ทําการเกษตร

                            มากขึ้น


                                                           39
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44