Page 37 -
P. 37
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายได รายจาย และภาวะหนี้สินครัวเรือน
ขอมูลจากองคการบริหารสวนตําบลแมทา ระบุวา ในป พ.ศ. 2558 ชาวบานมีรายไดเฉลี่ยปละ
36,726 บาทตอครัวเรือนรายจายเฉลี่ยปละ 63,799 บาทตอครัวเรือน จากขอมูลดังกลาวจะเห็นไดวาชาวบาน
ในตําบลแมทามีรายจายมากกวารายไดซึ่งรายจายสวนใหญมาจากคาอาหารและตนทุนในการทําการเกษตรแต
รายไดดังกลาวยังไมรวมแหลงรายไดที่ไมเปนตัวเงินและรายไดเพิ่มจากผลผลิตจากปานอกจากนี้ชุมชนยังได
รวมกันแกไขปญหาดังกลาวดวยการมีรานคาชุมชนทําใหมีสินคาในราคายุติธรรมและเปนคนไกลถึงราคาสินคา
ในตําบลสหกรณการเกษตรยั่งยืนแมทาที่สนับสนุนสมาชิกในรูปแบบของแหลงเงินทุนดอกเบี้ยต่ําการตอรอง
ราคาผลผลิตกับพอคาคนกลางและปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลแมทาไดสนับสนุนใหชาวบานแตละ
ครัวเรือนมีการจัดทําบัญชีรายรับรายจายเพื่อสํารวจการใชจายของครัวเรือนใหเกิดการลดรายจาย เพิ่มเงิน
ออม โดยในป พ.ศ. 2546 ไดมีการจัดตั้งธนาคารชุมชนบานหวยทรายขึ้นภายใตความตองการลดภาวะหนี้สิน
ของชาวบาน ปญหาอัตราดอกเบี้ยเงินกูทั้งเงินกูในระบบและเงินกูนอกระบบ ที่มีความตองการแตกตางกัน
เงินกูในระบบที่มีอัตราดอกเบี้ยถูกกวาเงินกูนอกระบบ แตชาวบานเขาถึงไดยากและมีขอจํากัดหลายอยาง
ธนาคารชุมชนบานหวยทรายถึงเปนสถาบันการเงินที่เกิดขึ้นจากความตองการของชุมชน ทําหนาที่สงเสริมการ
ออมและลดภาวะหนี้สินสรางการมีสวนรวมของชุมชน อีกทั้งยังนําผลกําไรที่ไดกลับมาพัฒนาชุมชน สรางความ
ยั่งยืนของการเปนชุมชนพึ่งตนเอง
แหลงกูยืมเงินในชุมชน ไดแก ธนาคารชุมชนบานหวยทราย สหกรณการเกษตรยั่งยืนแมทา กองทุน
หมูบานกลุมออมทรัพย เปนแหลงกูยืมเงินดอกเบี้ยต่ําที่มีเงื่อนไขใหสมาชิกตองออมเงินไวกอนถึงจะกูยืมเงินได
นอกจากนี้ยังมีกองทุนสุขภาวะตําบลแมทา ซึ่งเปนสวัสดิการดานการรักษาพยาบาลใหกับสมาชิกในชุมชน
นับเปนการเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับคนในชุมชน
พัฒนาการการจัดการทรัพยากรของชุมชน
ชุมชนแมทามีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับทรัพยากรแตอดีต ทั้งเก็บหาอาหาร สมุนไพร โดยเฉพาะ การอาศัย
น้ําจากปาเพื่อทําการเกษตรและบริโภค ซึ่งชุมชนมีการจัดการน้ําในระบบเหมืองฝาย โดยจะมีแกเหมืองเปน
หัวหนาในการดูแลและจะมีกฎระเบียบการใชน้ํารวมกันเมื่อสภาพการเสื่อมโทรมลงจากการทําสัมปทาน
ปริมาณน้ําในลําหวยสายสําคัญๆ ที่หลอเลี้ยงไรนาก็เริ่มแหงเหือด อันเปนเหตุจูงใจใหชุมชนตอตานการ
สัมปทานและเรียกรองใหหยุดการตัดไมบริเวณปาตนน้ําของชุมชน
รูปแบบการจัดการทรัพยากรของชุมชนตั้งแต พ.ศ. 2536 เริ่มจากการจัดตั้งองคกรดานปาชุมชน และ
สรางระเบียบการดูแลจัดการและใชประโยชนจากปา โดยใชสภาตําบลเปนกลไกลประสานงานหลัก มีตัวแทน
ระดับหมูบาน หมูบานละ 15 คน ขึ้นมาเปนกรรมการระดับตําบล ปจจุบันแตละหมูบานจะมีคณะกรรมการปา
37