Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ติดกับตําบลแมทา เพื่อสงเสริมใหชาวบานปลูกขาวโพดฝกออน ในครั้งนั้นชาวบานแมทาจํานวนหนึ่งจึงหันมา

               ปลูกขาวโพดฝกออนดวย ซึ่งทําใหมีการบุกเบิกพื้นที่ปาเพิ่ม  ข  ึ้นอีก ในขณะเดียวกัน ชาวบาน เริ่มมีการใช

               เคมีภัณฑทางการเกษตร ทั้งยาปราบศัตรูพืช ปุยเคมี และปจจัยการผลิตตางๆ โดยมีธนาคารเพื่อการเกษตร

               และสหกรณการเกษตรสนับสนุนเงินกูในการลงทุนเพื่อการเกษตร จากกระแสของพืชเศรษฐกิจสงผลทําให
               สภาพปาในบริเวณลุมน้ําแมทาตอนบนมีความเสื่อมโทรม เกิดความแหงแลง น้ําไมเพียงพอตอการเกษตร มี

               ภาวะหนี้สิน หลายครัวเรือนตองอพยพไปขายแรงงานตางถิ่น ตอมาในป พ .ศ.2529  โครงการพัฒนาชนบท

               อําเภอสันกําแพงไดเขามาทํางานเพื่อแกไขปญหารวมกับชุมชนโดยมีการวิเคราะหปญหา การจัดกระบวนการ

               เรียนรูอาชีพตางๆ เกิดกลุมตางๆ เชน กลุมออมทรัพย กลุมธนาคารขาว กลุมปุย กลุมเกษตรกรรมทางเลือก

               กลุมปลูกผักปลอดสารพิษโดยเชื่อมโยงการเรียนรูกับเครือขายเกษตรกรรมทางเลือกภาคเหนือ  และครั้งนั้นถือ
               เปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาชุมชนโดยองคกรชาวบาน


                      ชุมชนแมทาเชื่อวา จากสภาพปาที่เสื่อมโทรมทั้ง จากการสัมปทานและการสงเสริมปลูกพืช เศรษฐกิจ

               เชิงเดี่ยวไดกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนแมทาอยางชัดเจนในชวงป พ.ศ. 2534  – 2535  เกิดความแหงแลง

               อยางหนัก น้ําในลําหวยแหงขอด ชาวบานทํานาไดไมเกินครึ่งของพื้นที่ สงผลใหขาวไมพอกิน ทําใหชาวบาน

               และคณะกรรมการ ตําบลแมทาตระหนักวาตองใหความสําคัญกับการจัดการฟนฟูทรัพยากรปาไมรวมกันทั้ง

               ตําบล โดยมีสภาตําบลเปนแกนนําหลักในการประสานงาน ตอมาในป พ .ศ. 2538 – 2539 สภาตําบลไดจัดทํา
               แผนการจัดการชุมชน แบงโซนพื้นที่ปาเพื่อจัดการออกเปนพื้นที่ปาอนุรักษ ปาใชสอย ที่ทํากินและที่อยูอาศัย

               มีกฎระเบียบขอตกลงรวมกันในการบริหารจัดการทรัพยากรดิน น้ํา ปา ในระดับตําบล และในป พ .ศ. 2539

               นั่นเองชุมชนแมทาก็ไดเปนจุดเริ่มแรกในการทําพิธีบวชปาชุมชน   50   ลานตน เพื่อเฉลิมพระเกียรติ

               พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงครองราชย ปที่ 50


                      ลักษณะทางกายภาพและการใชประโยชนที่ดิน

                      ตําบลแมทาเปนหนึ่งใน 6 ตําบลของอําเภอแมออน ตั้งอยูในลุมน้ําแมทา ซึ่งเปนลุมน้ําสาขาของลุมน้ํา

               ปงตอนบน อยูหางจากอําเภอเมืองเชียงใหม ประมาณ  75  กิโลเมตร มีความสูงจากระดับน้ําทะเล โดยเฉลี่ย

               ประมาณ 500 - 1,200 เมตร ประกอบดวยปา 3 ประเภทคือ ปาดิบแลง เต็งรัง และปาเบญจพรรณ ที่มีไมสัก

               และไผหลายชนิดขึ้นปะปน พื้นที่ปาชุมชนที่เปนปาใชสอยอยูในเขตปาสงวนแหงชาติปาขุนแมทา ซึ่งประกาศ

               ในชวงประมาณป พ.ศ. 2525 สวนพื้นที่ปาชุมชนอนุรักษบางสวนอยูในเขตเตรียมประกาศเปนอุทยานแหงชาติ

               แมตะไคร อีกทั้งยังเปนที่ตั้งของปาตนน้ําที่ใหกําเนิดหวยเล็กๆ จํานวนมากไหลไปรวมกันเปนลําน้ําสําคัญของ

               พื้นที่บริเวณนี้ คือแมน้ําทา ไหลผานตําบลทาเหนือ ตําบลแมทา และผานเขตจังหวัดลําพูน ไปรวมกับแมน้ําปง
               รวมระยะทางประมาณ  95 กิโลเมตร พื้นที่โดยรวมมีภูเขาลอมรอบ  พื้นที่ราบเพื่อทําการเกษตรมีนอย โดยทั้ง

               ตําบลมีพื้นที่เพื่ออยูอาศัยเพียง  รอยละ 5 (3,687.5 ไร) และทําเกษตรกรรม รอยละ 15 (10,776.5 ไร) เฉลี่ย


                                                           32
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37