Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               แมทามีรูปแบบการทํา มาหากินโดยการทําเกษตรแบบดั้งเดิม ทําไรขาว ตอมา มีการบุกเบิกพื้นที่บริเวณที่ลุม

               สําหรับการทํานา ที่ดอนปรับเปนสวน และเก็บหาของปา ลาสัตวเปนอาหาร ยึดถือตามความเชื่อแบบดั้งเดิม

               และศาสนาพุทธ พึ่งพาอาศัยกันแบบพี่นองเครือญาติ มีรูปแบบจัดการทรัพยากรปาไมแบบ “หนาหมู” สําหรับ

               การใชประโยชนรวมกันของชุมชนโดยมีประเพณี ความเชื่อเปนกลไกขอตกลงรวมกันของชุมชนการจัดการน้ํา
                                  1
               โดยใชระบบเหมืองฝาย ในการใชน้ําแมทาสําหรับการทํานา

                      ในชวงป พ .ศ.2400 – 2500  มีการสัมปทานไมในพื้นปาแมทาถึง  4  ครั้ง โดยมีบริษัทเขามารับ

               สัมปทานไม ไดแก บริษัทบอมเบย ซึ่งไดสัมปทานเปนบริษัทแรกโดยเปนการทําไมสักในชวงป พ.ศ. 2444  –

               2451  และครั้งที่สอง บริษัทเดิมนี้ไดสัมปทานไมกระยาเลย ในชวงกอนป พ.ศ.2470  ตอมาในชวงประมาณป

               พ.ศ. 2500 บริษัทลําปางคาไมไดเขามาสัมปทานไมหมอนรถไฟ และไมฟนใหแกการทางรถไฟ  ซึ่งการสัมปทาน
               ปาทั้ง 4  ครั้งในชวงดังกลาว  สงผลใหสภาพปาในพื้นที่ แมทาเสื่อมโทรม อยางไรก็ ดี ปรากฏวาในชวงที่มีการ

               สัมปทานไมในพื้นที่ตําบลแมทานั้น ชาวบานไดรวมตัวกันเพื่อขอรองกับทางบริษัทไมใหตัดไมบริเวณขุนหวยแม

               บอน ทั้งนี้เพราะเปนพื้นที่ปาตนน้ําที่มีความสําคัญตอการดํารงชีพของชุมชนเปนอยางมาก ชาวบานแมทาได

               อาศัยน้ําจากบริเวณตนน้ําหวยแมบอนสําหรับ การอุปโภค และการเกษตร  เมื่อการขอรองกับบริษัทประสบ

               ผลสําเร็จ ชุมชนไดตกลงรวมกันในการประกอบพิธีกรรมเลี้ยงผีขุนน้ําเพื่อปกปองรักษาปา และกลายเปนพื้นที่

               พิธีกรรมเลี้ยงผีขุนน้ํามาอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน

                      ในชวงที่มีการสัมปทานปาไมนั้นมีการสรางถนนเขามาในพื้นที่ สงผลใหการเดินทางสะดวกมากขึ้น  ใน

               ระยะตอมามีพอคานําเมล็ดพันธุพืชเศรษฐกิจเขามา สงเสริมในชุมชนแมทา ซึ่งไดทําใหชาวบาน มีการจับจอง

               และบุกเบิกพื้นที่ปาที่ครั้งหนึ่งเคยเปนพื้นที่สัมปทานปาเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจมากขึ้น โดย ในชวงแรกชาวบาน

               เริ่มจากการปลูกยาสูบ รวมกับมีอาชีพตัดไมขายเพื่อใหเปนฟนสําหรับโรงบมใบยาสูบ ตอมาเมื่อกิจการโรงบม

               ใบยาสูบขาดทุนจึงเลิกกิจการไป ชาวบานจึงหันมาปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ เชน  ถั่วลิสง หอมแดง ในชวงป

               พ.ศ.2526 มีบริษัทเขามาติดตอชุมชนผานกํานันตําบลทาปลาดุก อําเภอแมทา จังหวัดลําพูน ซึ่งเปนตําบลที่อยู




               1   ระบบเหมืองฝายเปนระบบการจัดการน้ําระบบหนึ่ง โดยอาศัยภูมิปญญาทองถิ่นเขามาจัดการ การจัดสรรน้ําใหกับคนที่อยู

               ทายเหมืองฝายที่ชาวบานเรียกวา  ลูกฝาย  จะมีสัญญาประชาคมรวมกันของผูใชน้ําวา การจัดสรรรับน้ําเขาที่นา จะตองมีการ
               จัดการดูแลซอมแซมเหมืองฝายรวมกันทุกๆ ป รวมไปถึงมีบทลงโทษสําหรับผูที่กระทําความผิดหรือฝาฝนกฎระเบียบเหมือง

               ฝาย เมื่อมีการละเมิดกฎระเบียบของเหมืองฝายคนที่มีหนาที่พิจารณาโทษ ชาวบานเรียกวา   แกฝาย ซึ่งเปนบุคคลสําคัญที่ถูก

               เลือกมาจากชุมชนผูใชน้ําจากเหมืองฝาย คนที่ถูกเลือกเขามาตองเปนบุคคลที่มีความเปนธรรม และสามารถจัดสรรน้ําใหกับลูก
               สมาชิกฝายไดใชกันอยางทั่วถึง




                                                           31
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36