Page 124 -
P. 124

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                        ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÄ·¸Ôì¡‹Í¡ÅÒ¾ѹ¸Ø ¢Í§ä¡‹Â‹Ò§                                                            ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÄ·¸Ôì¡‹Í¡ÅÒ¾ѹ¸Ø ¢Í§¡ÒÃÃѺ»Ãзҹ䡋‹ҧ ¡ÑºÍÒËÒê¹Ô´Í×è¹áººä·Â


                  จันทรเพ็ญ และอภิญญา (2552) ไดนําตัวอยางไกยางที่สํารวจในกรุงเทพมหานคร จํานวน 12 แหง (ประกอบดวย  รถเข็นตาม        เมื่อไดทราบถึงฤทธิ์กอกลายพันธุของไกยาง
                ริมบาทวิถี 8 แหง และรานอาหาร 4 แหง รวม 72 ตัวอยาง มาตรวจสอบฤทธิ์กอกลายพันธุ โดยวิธี Ames Test โดยใชแบคทีเรีย    แลว  คณะผูวิจัยไดนําสารสกัดไกยางมาศึกษาตอ
                Salmonella typhimurium TA98 ในระบบกระตุนการออกฤทธิ์ดวยเอนไซม S-9mix พบวา ทุกตัวอยางมีฤทธิ์กอกลายพันธุตอ        โดยสนใจที่จะศึกษาวาการรับประทานไกยางกับ
                แบคทีเรีย ผลการทดลองแสดงในภาพที่ 2 พบวา สารสกัดตัวอยางไกยาง (ที่ความเขมขน 25 มิลลิกรัม/จานเลี้ยงเชื้อ) ที่ซื้อมาจาก  อาหารชนิดอื่นแบบไทยนั้นจะสงผลอยางไรตอ
                ผูจําหนายทั้ง 12  แหงนั้นมีฤทธิ์กอกลายพันธุทุกตัวอยาง  โดยพิจารณาจากจํานวนโคโลนีที่กลายพันธุ  ถามีจํานวนมากก็มีฤทธิ์ใน  การเกิดมะเร็ง   เพราะอาหารที่คนไทยนิยมรับ
                การกลายพันธุสูง ชิ้นสวนตาง ๆ ของไกยาง ไดแก ชิ้นอก ชิ้นปก และชิ้นนอง มีระดับความแรงในการแสดงฤทธิ์กอกลายพันธุ   ประทานกับไกยางหลายชนิดเปนพืชผักสมุนไพร
                แตกตางกัน แมกระทั่งเปนตัวอยางจากรานเดียวกัน ชิ้นอกและชิ้นปกโดยสวนใหญจะมีฤทธิ์กอกลายพันธุสูงกวาชิ้นนอง นอกจากนี้  ที่นาจะชวยลดความเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งได
                ยังเปนที่นาสังเกตวาตัวอยางไกยางที่เลือกซื้อจากรถเข็นมีฤทธิ์กอกลายพันธุสูงกวาตัวอยางไกยางที่ซื้อจากรานอาหาร  ซึ่งคาดวา  โดยไดจัดอาหารที่นิยมรับประทานเปนชุด คือ ไก
                นาจะเปนผลมาจากอุณหภูมิที่ใชในการยาง และการพิถีพิถันในขณะยาง เชน การหมั่นพลิกกลับ การปรับความรอนของเตาถานให    ยาง-สมตํา-ขาวเหนียว-ผักแนม ซึ่งเปนชุดอาหาร
                มีอุณหภูมิสมํ่าเสมอ เปนตน                                                                                            ที่ประกอบดวยสารกอกลายพันธุและสารที่มีฤทธิ์
                                                                                                                                       ตานการกลายพันธุรวมอยูดวยกัน  เพื่อใหทราบ
                                                                                                                                       ถึงความสามารถในการหักลางฤทธิ์กอกลายพันธุ
                                                                                                                                       ของอาหารที่รับประทานคูกับไกยาง


                                                                                                                                                                            ภาพที่ 3 :
                                                                                                                                                                            อาหารที่นิยมรับประทานรวมกับไกยาง (สมตํา-ขาวเหนียว-ผัก)

                ภาพที่ 1 : อาหารปงยางยอดนิยมของคนไทย






























                ภาพที่ 2 : แสดงจํานวนโคโลนีที่กลายพันธุของสารสกัดไกยางที่เก็บตัวอยางจากรถเข็นริมบาทวิถีและรานอาหาร                ภาพที่ 4 :
                                                                                                                                       จํานวนโคโลนีที่กลายพันธุจากสารสกัดไกยางเปรียบเทียบกับสารสกัดไกยางที่ทําปฏิกิริยากับพืช/อาหารชนิดตาง ๆ
                     (หมายเหตุ: รข1-รข8= ไกยางที่เก็บตัวอยางจากรถเข็นแหลงที่ 1-8; รอ1-รอ4 = ไกยางที่เก็บตัวอยางจากรานอาหาร 1-4)

                                                             122                                                                                                                    123


                                                     อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                  การบริโภคอาหารแบบไทย ชวยลดความเสี่ยงจากสารกอมะเร็ง
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129