Page 74 -
P. 74

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               มันสําปะหลัง

                       ข้อมูลที ใช้ในการพิจารณา ประกอบด้วย ราคาหัวมันสําปะหลังสดคละที เกษตรกรขายได้ที ไร่นาราย

               เดือน ปริมาณผลผลิตมันสําปะหลังโรงงาน  (รูปที  4.6)  ปริมาณส่งออกมันเส้น และปริมาณส่งออกมัน

               อัดเม็ด (รูปที  4.7) มูลค่าการนําเข้ามันสําปะหลังของประเทศจีนจากประเทศไทย (รูปที  4.8) ตลอดจนความ
               คิดเห็นจากผู้เชี ยวชาญรวมถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ที อาจนําไปสู่การเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคา

                       จากผลการศึกษาในบทที  3 พบช่วงเวลาที น่าจะเกิดการเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคามัน

               สําปะหลัง ประกอบด้วย ช่วงเดือนพฤษภาคม 2542 และเดือนเมษายน 2553  ถึงแม้คณะผู้วิจัยไม่สามารถ
               เข้าถึงข้อมูลปริมาณผลผลิตในช่วงเดือนพฤษภาคม 2542 ได้   แต่ราคาหัวมันสําปะหลังสดในช่วงเวลา

               ดังกล่าวลดลง สาเหตุหลักที อาจนําไปสู่การเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาครั งนี น่าจะมาปัจจัยอื นที ไม่ใช่ภัย

               พิบัติทางธรรมชาติ  ดังที กล่าวไปแล้วว่าหากเกิดภัยธรรมชาติจะส่งผลทําให้ปริมาณผลผลิตลดลงและราคา
               เพิ มสูงขึ น  อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที น่าจะทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาในช่วงเวลาดังกล่าว คือ

               การเปลี ยนแปลงทางด้านการส่งออก กล่าวคือ ในอดีต ประเทศในทวีปยุโรปถือเป็นตลาดส่งออกผลิตภัณฑ์

               มันสําปะหลังที สําคัญของไทย โดยไทยส่งออกไปยังตลาดยุโรปมากกว่าร้อยละ 45 ของมูลค่าการส่งออกมัน

               สําปะหลังทั งหมด แต่หลังจากปี 2543 เป็นต้นมา ตลาดยุโรปเริ มเล็กลงอย่างชัดเจน ในขณะการส่งออกไป
               ประเทศจีนเริ มเพิ มขึ น  โดยผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังที ส่งออกไปยังตลาดในประเทศยุโรปคือมันอัดเม็ด

               ในขณะที ผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังที ส่งออกไปยังประเทศจีนคือมันเส้น (นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ, 2550)

               และเมื อพิจารณารูปที  4.7  พบว่า ในช่วงเวลาดังกล่าว ปริมาณส่งออกมันเส้นเริ มเพิ มสูงขึ น ในขณะที ปริมาณ
               ส่งออกมันอัดเม็ดมีความผันผวนค่อนข้างสูงและลดลงเรื อย ๆ ในช่วงเวลาต่อมา  นอกจากนี  เมื อพิจารณา

               มูลค่าการนําเข้ามันสําปะหลังของประเทศจีนจากประเทศไทย (รูปที  4.8) พบว่าเริ มมีค่าเพิ มสูงขึ นตั งแต่ปี

               2542  โดยประเทศจีนนําเข้ามันสําปะหลังจากประเทศไทยเป็นหลักตั งแต่นั นมา ทั งนี อาจเป็นผลมาจากการที

               ประเทศจีนนําเข้ามันสําปะหลังเพื อใช้ในการผลิตเอทานอล จากเดิมที ใช้ข้าวโพดเป็นวัตถุดิบหลัก แต่
               มาตรการอุดหนุนราคาข้าวโพดภายในประเทศจีนส่งผลให้หันมานําเข้ามันสําปะหลังเส้นจากประเทศไทย

                       สําหรับช่วงเวลาประมาณเดือนเมษายน 2553 มันสําปะหลังมีราคาสูง ในขณะที ผลผลิตในช่วงเวลา

               ดังกล่าวมีปริมาณที ลดลง (รูปที  4.6) อีกทั งปริมาณส่งออกมันเส้นในช่วงเวลาดังกล่าวก็ลดลงด้วย (รูปที  4.7)
               เมื อทบทวนเหตุการณ์ในอดีตจึงพบว่า มีรายงานภัยแล้งและการระบาดของเพลี ยแป้งในช่วงเวลาดังกล่าว

               (RYT9, 2553) นอกจากนี ยังพบรายงานภัยแล้ง ในช่วงปี 2550 – 51 (สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2551)

               ปริมาณผลผลิตในช่วงเวลาดังกล่าวลดลงเมื อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม
               ผลผลิตเฉลี ยยังอยู่ในระดับที สูงกว่าของช่วงปี 2553 ราคาในช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในระดับสูงแต่ก็ยังตํ ากว่า

               ระดับราคาในปี 2553 – 54  นอกจากนี  เมื อพิจารณามูลค่าการนําเข้ามันสําปะหลังของประเทศจีนจาก

               ประเทศไทย (รูปที  4.8) ในช่วงเวลาดังกล่าว มูลค่าการนําเข้ามีความผันผวน และลดลงอย่างเห็นได้ชัดในปี
               2555 อาจกล่าวได้ว่า สาเหตุที น่าจะทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาหัวมันสําปะหลังในช่วง

               ประมาณเดือนเมษายน 2553 คือ ภัยแล้งอันนํามาซึ งโรคระบาดในหัวมันสําปะหลัง




                                                          4-22
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79