Page 71 -
P. 71
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อาจกล่าวได้ว่า สาเหตุที อาจนําไปสู่การเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคายางในช่วงประมาณเดือนมิถุนายน 2548
คือ ปัจจัยเชิงบวกทางด้านอุปสงค์ จากการขยายตัวของสภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมยางรถยนต์ของ
ประเทศจีนจนทําให้ประเทศจีนกลายเป็นผู้นําเข้ายางพารามากที สุดของโลก ประกอบกับผลกระทบจาก
สินค้าที เกี ยวข้อง และปัจจัยเชิงลบทางด้านอุปทาน อันเนื องมาจากการภาวะฝนตกชุกในประเทศไทย
สําหรับการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาในช่วงเดือนเมษายน 2553 เมื อพิจารณาราคายางพาราใน
ช่วงเวลาดังกล่าวและช่วงเวลาใกล้เคียงจะพบว่ามีผันผวนอย่างมาก (รูปที 4.4) ในช่วงปี 2551 ราคายางพารา
(และราคานํ ามันปิโตรเลียมดิบ) ตลอดจนมูลค่าการนําเข้ายางพาราจากทั ง 3 ประเทศลดลงอย่างเห็นได้ชัด
โดยช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาที หลายประเทศประสบกับวิกฤตการณ์ทางการเงิน (financial crisis) เริ ม
จากต้นปี 2550 ที ประเทศสหรัฐ ฯ ประสบกับปัญหาซับพาร์ม (Subprime) ในอันนําไปสู่วิกฤตการณ์สถาบัน
การเงิน ที ส่งผลกระทบต่อระบบการเงินของโลก (World financial system) ต่อมาในปี 2551 ประเทศญี ปุ่น
ประสบกับภาวะเศรษฐกิจซบเซา และในปี 2552 ที ประเทศในยุโรปประสบวิกฤตการณ์ทางด้านหนี สิน
อย่างไรก็ตามหลังจากช่วงเวลาดังกล่าวระดับราคายางพาราได้ปรับตัวสูงขึ นอย่างต่อเนื องและสูงมากที สุดใน
ปี 2554 โดยในปลายปี 2553 และต้นปี 2554 ประเทศไทยประสบกับอุทกภัย ที นิยมเรียกกันว่า มหา
อุทกภัย เป็นอุทกภัยรุนแรง ธนาคารโลกประเมินมูลค่าความเสียหายสูงถึง 1.44 ล้านล้านบาท เมื อเดือน
ธันวาคม 2554 และจัดให้เป็นภัยพิบัติที มีมูลค่าความเสียหายมากที สุดเป็นอันดับสี ของโลก สําหรับในภาคใต้
นั น นอกจากจะประสบกับอุทกภัยและยังประสบกับภาวะดินถล่มอีกด้วย อาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยที น่าจะเป็น
สาเหตุที ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคายางพารา ประกอบไปด้วย ปัจจัยทางด้านอุปสงค์ที ลดลง
อันเป็นผลมาจากวิกฤตการณ์ทางการเงินในหลายประเทศ และปัจจัยทางด้านอุปทานที ลดลง อันเป็นผลมา
จากภัยธรรมชาติในประเทศไทยที เป็นประเทศผู้ผลิตยางพาราที สําคัญ
จากข้างต้น จะเห็นได้ว่า การเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคายางพาราส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากปัจจัย
ภายนอกประเทศ ได้แก่ สภาวะเศรษฐกิจของโลกและอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ งเป็นปัจจัยทางด้านอุปสงค์
ทั งนี แม้ว่าประเทศไทยจะเป็นประเทศที มีส่วนแบ่งทางการตลาดที มากที สุดในตลาดโลกแต่ก็ไม่สามารถ
กําหนดราคายางพาราได้ เนื องจากโครงสร้างตลาดยางพาราโลกเป็นแบบผู้ซื อน้อยราย ดังนั นผู้ซื อมีอิทธิพล
ต่อการกําหนดราคายางมิใช่ผู้ขาย การเปลี ยนแปลงด้านอุปทานที จะส่งผลต่อราคายางพาราตลาดโลกนั นมัก
มาจากการเปลี ยนแปลงอุปทานของประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่ทั งสามประเทศ ไม่ใช่ประเทศไทยเพียง
ประเทศเดียว
4-19