Page 69 -
P. 69

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ยางพารา

                       ข้อมูลที ใช้ในการวิเคราะห์ ประกอบด้วยราคายางพาราแผ่นดิบชั น 3 ที เกษตรกรขายได้ที สวนราย

               เดือน (บาท/กิโลกรัม) ราคายางพาราแผ่นรมควันชั น 3 ล่วงหน้าในตลาดโตเกียวรายเดือน (TOCOM) และ

               ราคานํ ามันปิโตรเลียมดิบ WTI รายเดือน (ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรล) (รูปที  4.4)  เมื อพิจารณาราคายางพารา
               แผ่นดิบชั น 3 ที เกษตรได้รับกับราคายางพาราแผ่นรมควันชั น 3 ล่วงหน้าในตลาดโตเกียว พบว่ามีลักษณะ

               การเคลื อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน  และในหลายช่วงเวลาราคายางพาราทั งสองมีลักษณะการเคลื อนไหว

               ไปในทิศทางเดียวกันกับราคานํ ามันปิโตรเลียมดิบ นอกจากนี ยังพิจารณาข้อมูลมูลค่าการนําเข้ายางธรรมชาติ
               รายปีของ 3 ประเทศนําเข้าหลัก ได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา และญี ปุ่น (รูปที  4.5) ตลอดจนความคิดเห็นของ

               ผู้เชี ยวชาญและเหตุการณ์ต่าง ๆ ที อาจนําไปสู่การเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคา

                       จากผลการศึกษาในบทที  3 พบว่า ช่วงเวลาที ประมาณการว่าน่าจะเกิดการเปลี ยนแปลงในโครงสร้าง

               ราคายางพาราแผ่นดิบชั น 3 คือ ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2532 เดือนมิถุนายน 2537 เดือนเมษายน 2542 เดือน

               มิถุนายน 2548 และเดือนเมษายน 2553  สําหรับเดือนพฤษภาคม 2532 ราคาในช่วงเวลาดังกล่าวลดลงจาก

               ช่วงเวลาก่อนหน้า นั นคือ ราว ๆ ต้นปี 2531 ราคายางพาราสูงขึ นอย่างมาก (รูปที  4.4) อันเนื องมาจากการ

               ขยายตัวจากสภาพเศรษฐกิจโลก อัตราการเติบโตของ GDP โลกอยู่ในระดับสูงในปี 2531 (รูปที  4.2) ส่งผล

               ให้อุปสงค์ต่อยางพาราเพิ มขึ นถึง 4% โดยเมื อพิจารณามูลค่าการนําเข้ายางพาราของสหรัฐ ฯ ญี ปุ่น และจีน ก็

               พบว่ามีค่าสูงในปี 2531 (รูปที  4.5) ในขณะที อุปทานยางโลกเพิ มขึ นเพียง 2.9 % จากปี 2530 ซึ งอุปทานยาง


               โลกเพิ มขึ นถึง 7.3% ในปี 2530  สาเหตุที อุปทานยางพาราโลกลดลงค่อนข้างมากในปี 2531 คือ สภาพอากาศ

               ที ไม่เป็นใจต่อการผลิตยางในสามประเทศที เป็นผู้ผลิตยางที สําคัญ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย

               (Food and Agricultural Organization, 1989)  อีกทั งยังพบรายงานภัยพิบัติโคลนถล่มในเดือนพฤศจิกายน

               2531 ที  ต.กะทูน อ.พิปูน จ.นครศรีธรรมราช ทะเลโคลนรวมทั งท่อนไม้ยางพารา และต้นไม้บนเทือกเขา

               หลวง ทับถม ต.กะทูน ทั งตําบล พื นที กว่า  6,000 ไร่ บ้านเรือน 1,500 หลัง ถูกโคลนทับถมหนาร่วม 2 เมตร

               (โพสต์ทูเดย์, 2558)   นอกจากนี  ในปี 2533 หลายประเทศ อาทิ ประเทศในยุโรปและญี ปุ่น ประสบกับ

               สภาวะเศรษฐกิจตกตํ า (economic recession) เมื อพิจารณาจากอัตราการเติบโตของ GDP โลก (รูปที  4.2) จะ

               พบว่าเริ มลดลงในปี 2533 สภาวะเศรษฐกิจดังกล่าวส่งผลให้อุตสาหกรรมยานยนต์และยางรถยนต์ซบเซา

               ตามไปด้วย


                       อาจกล่าวได้ว่าปัจจัยที น่าจะนําไปสู่การเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคายางในช่วงประมาณเดือน

               พฤษภาคม 2532 ประกอบด้วย 1) อุปสงค์ต่อยางพาราที เพิ มมากขึ นกว่าอุปทานยางพาราที เพิ มขึ นในปี 2531

               โดยอุปสงค์ต่อยางพาราโลกที เพิ มขึ นเป็นผลมาจากสภาวะเศรษฐกิจโลกที ขยายตัว ส่วนอุปทานยางพาราของ

               โลกที เพิ มขึ นไม่มากนักเป็นผลมาจากสภาพอากาศที ไม่เอื อต่อผลผลิตยางพาราในประเทศผู้ผลิตที สําคัญ




                                                          4-17
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74